Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3054
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจริยา ทรัพย์เรือง-
dc.contributor.authorธมกร อ่วมอ้อ-
dc.contributor.authorปริศนา อัครธนพล-
dc.contributor.authorอัจฉรา เดชขุน-
dc.contributor.authorกันยา สุวรรณคีรีขันธ์-
dc.contributor.authorอารีย์ มั่งเกียรติสกุล-
dc.contributor.authorJariya Supruang-
dc.contributor.authorThamakorn aomaor-
dc.contributor.authorPrisana Akaratanapol-
dc.contributor.authorAdchara Dekun-
dc.contributor.authorKanya Suvankereekhun-
dc.contributor.authorAree Mungkietisakul-
dc.contributor.other็Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.other็Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.other็Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.other็Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.other็Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.other็Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2024-10-18T02:35:50Z-
dc.date.available2024-10-18T02:35:50Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.citationวารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 44, 1 (มกราคม-มีนาคม 2564) : 61-72en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3054-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่: https://thaidj.org/index.php/tjha/article/view/11800en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของผู้ประกอบการร้านค้าวัยทํางาน หมู่ที่ 7 ตําบลบางโฉลง อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ประกอบการร้านค้าวัยทํางาน จํานวน 127 คน เริ่มดําเนินการวิจัยตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2563 รวมเป็นระยะเวลา 6 เดือน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม ซึ่งตรวจสอบความตรง ตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิและหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาได้ 0.75-0.86 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค้าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าไค-สแควร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 65.10 เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 38.70 ปี (SD=8.66) ร้อยละ 64.70 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 55.60 มีการศึกษาระดับตํ่ากว่าปริญญาตรีมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่ากับ 19,283 บาท (SD=10,676.76) ร้อยละ 83.60 ไม่มีโรคประจําตัว จํานวนชั่วโมงการทํางานต่อสัปดาห์เฉลี่ย 8 ชั่วโมง (SD=11.95) ร้อยละ 58.70 มีการทํางาน ในเวลาปกติ (เช้าไป-เย็นกลับ) และระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 14.50 ปี (SD=9.39) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมส่งเสริม ได้แ่ รายได (r=0.362, p=0.006) การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (r=0.395, p<0.01) การรับรู้สมรรถนะของตนเอง (r=0.464, p<0.01) ผลการศึกษาจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนา โปรแกรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ประกอบการร้านค้าวัยทํางาน หมู่ที่ 7 ตําบลบางโฉลง อําเภอบางพลีจังหวัดสมุทรปราการต่อไปen
dc.description.abstractThis study was a descriptive correlational research. The purposes were to assess health-promoting for prevention of non-communicable diseases, and to examine the predictors related to health-promoting behaviors for prevention of non-communicable diseases among working-age shop operator. The sample was 127 working-age shop operator from Moo 7 Bang-Chalong Sub District, Bangplee District, Samutprakarn Province. They were selected by using the Krejcie and Morgan table. Data had been collected over 6 months from January, 1st, 2020 to June, 30th, 2020. The research’s questionnaires were validated by the experts. The alpha coefficient was 0.75-0.86. The data was analyzed by mean, standard deviation, Pearson product moment correlation, and Multiple Regression Analysis. The study found that 65.10% of the samples were female, with a mean age of 38.70 years (SD = 8.66), 64.70% had marital status, and 55.60% had education at a lower bachelor's degree. Their average monthly income was 19,283 baht, (SD=10,676.76). 83.60% had no congenital disease. 58.70% worked at normal hours. The average number of hours worked per day, 8 hours (SD = 11.95) and mean operational duration of 14.50 years (SD = 9.39). Factors associated with promoting behavior were income (r = 0.362, p = 0.006), perceived benefits of health promotion behavior (r=0.395, p<0.01), self-efficacy (r=0.464, p<0.01). These findings will be useful for the development of health promotion programs to prevent non-communicable diseases among working-age entrepreneurs at Moo 7 Bang-Chalong Sub District, Bangplee District, Samutprakarn Province.en
dc.language.isothen
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen
dc.subjectHealth promotionen
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen
dc.subjectHealth behavioren
dc.subjectโรคเรื้อรังen
dc.subjectChronic diseasesen
dc.subjectร้านค้า – ไทย – สมุทรปราการ (บางโฉลง)en
dc.subjectStores – Thailand – Samut Prakarnen
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ประกอบการร้านค้าวัยทํางาน หมู่ที่ 7 ตําบลบางโฉลง อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการen
dc.title.alternativeFactors Related to Health-Promoting Behaviors for Prevention of Non-Communicable diseases among Working-Age Store Entrepreneur Moo 7 Bang-Chalong Sub District Bangplee District Samutprakarn Provinceen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Factors-Related-to-Health-Promoting-Behaviors.pdf90.42 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.