Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3073
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภัสสร ยืนตระกูล | - |
dc.contributor.author | สุกัญญา จันทนู | - |
dc.contributor.author | ชวนพิศ จิระพงษ์ | - |
dc.contributor.author | Phatson Yuentrakul | - |
dc.contributor.author | Sukanya Jantanu | - |
dc.contributor.author | Chaunpis Jirapong | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology. Student of Bachalor of Science and Technology | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology. Student of Bachalor of Science and Technology | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology | en |
dc.date.accessioned | 2024-10-19T06:39:40Z | - |
dc.date.available | 2024-10-19T06:39:40Z | - |
dc.date.issued | 2015 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3073 | - |
dc.description | การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 3 “วิทยาศาสตร์เพื่อความสุข: จากงานวิจัยพื้นฐานสู่การค้าเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต” (The 3rd Academic Science and Technology Conference 2015) (ASTC2015) “Science for Happiness: from basic research to commerce toward future sustainable development”) วันพฤหัสบดีที่ 28 และวันศุกร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรุงเทพฯ : หน้า 502-506 | en |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://drive.google.com/file/d/11J3lwk91_PhjVyp-RFb-lKlYQ4to8qnT/view | en |
dc.description.abstract | โรคเจ็บคอเกิดจากการติดเชื้อ Streptococcus pyogenes ที่ลำคอและต่อมทอนซิล ทำให้มีอาการเจ็บคอเเละบวมแดงภายในลำคอ การติดเชื้อเกิดจากการสัมผัสสารคัดหลั่งทางเดินหายใจจากผู้ป่วยผ่านทางอากาศโดยการจามหรือไอ ส่วนใหญ่รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ แต่ในการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดการดื้อยา ดังนั้นสารสกัดจากธรรมชาติและยาสมุนไพรจึงเป็นทางเลือกในการยับยั้งแบคทีเรียและมีสรรพคุณในการรักษาโรคเจ็บคอที่เกิดจากการติดเชื้อ S. pyogenes ในการศึกษาครั้งนี้จึงได้นำสารสกัดมะรุมมายับยั้งเชื้อ S. pyogenes สกัดจากใบ กิ่ง ฝัก ดอก เมล็ด และรากมะรุม ด้วยตัวทำละลายเอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์ ทดสอบโดยใช้วิธี agar well diffusion method พบว่าสารสกัดจากเมล็ดมะรุมมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโซนยับยั้งสูงสุด เท่ากับ 31.33 มิลลิเมตร รองลงมาคือ กิ่ง ฝัก ดอก ราก และใบมะรุม ตามลำดับ ฝักและรากมะรุมมีค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถฆ่าเชื้อทดสอบได้ เท่ากับ 12.50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และมีค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ฆ่าเชื้อทดสอบได้ เท่ากับ 25.00 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร เมื่อทดสอบกับเชื้อที่มีความเข้มข้น 6 log CFU/ml อย่างไรก็ตามสารสกัดจากเมล็ดมะรุมมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและมีความสามารถในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระสูง ซึ่งความสามารถในการยับยั้งเชื้อทดสอบมีความสัมพันธ์กับปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระ | en |
dc.description.abstract | Strep throat is an infection of the throat and tonsils caused by the Streptococcus pyogenes. The symptoms of strep throat include sore throat, fever, swollen neck glands. Transmission of S. pyogenes likely a direct contact with mucus from the nose or throat of infected persons or through the air by sneezing or coughing. Effective medications shows that patients need to get antibiotics but higher chance of resistant bacteria against antibiotics occurs. Therefore, the use of natural extracts and medicinal plant is an alternative way that can replace the use of antibiotics and chemicals for prevention of strep throat caused by S. pyogenes infection. This study aimed to investigate the inhibitory effect of Moringa oleifera Lam. extracts against S. pyogenes. The extract derived from leaves, branches, pod husks, flowers, seeds and roots of Moringa oleifera Lam. used 95% ethanol as solvent. The extracts were tested by agar well diffusion method. The result showed that the seeds extracts showed the highest inhibition diameter zone 31.33 mm. followed by the extract of branches, pod husks, flowers, roots and leaves, respectively. However, pod husks and root extract provided the highest efficiency to inhibit bacteria studied with the minimal inhibition concentration (MIC) of 12.50 mg/ml and the minimal bactericidal concentration (MBC) of 25.00 mg/ml when the initial load of about 6 log CFU/ml was used. Furthermore, seed extracts had the highest total phenolic content and antioxidant capacity and antibacterial inhibition diameter zone was related to the antioxidant capacity. | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.rights | คณะกรรมการจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 3 | en |
dc.subject | สเตรปโตค็อกคัสไพโอจีเนส | en |
dc.subject | Streptococcus pyogenes | en |
dc.subject | เจ็บคอ | en |
dc.subject | ช่องคอ – โรค | en |
dc.subject | Throat – Diseases | en |
dc.subject | มะรุม | en |
dc.subject | Moringa oleifera | en |
dc.subject | แอนติออกซิแดนท์ | en |
dc.subject | Antioxidants | en |
dc.title | ประสิทธิภาพของสารสกัดมะรุมต่อการยับยั้งเชื้อ Streptococcus pyogenes | en |
dc.title.alternative | Efficiency of Moringa oleifera Lam. Extracts on Streptococcus pyogenes | en |
dc.type | Proceeding Document | en |
Appears in Collections: | Science and Technology - Proceeding Document |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Efficiency-of-Moringa-oleifera-Lam.pdf | 122.33 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.