Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorNiu Lurong-
dc.contributor.authorจันทร์สุดา ไชยประเสริฐ-
dc.contributor.authorJansuda Chaiprasert-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Doctor of Arts Programen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2024-10-27T08:51:25Z-
dc.date.available2024-10-27T08:51:25Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3149-
dc.descriptionการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 14 (14th Hatyai National and International Conference) วันศุกร์ที่ 14 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุม Blue Ocean Hall อาคารคณะบริหารธุรกิจ โดย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และ Online Conference : หน้า 245-257en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://www.hu.ac.th/conference/proceedings/doc/04%20%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%20Hu/2-Hu-035%20(%20245-257).pdfen
dc.description.abstractบทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพแทนตัวละครร้ายเพศหญิงในละครโทรทัศน์เรื่อง กระเช้าสีดา ขอบเขตของการวิจัยคือ ตัวละครร้ายเพศหญิงที่ชื่อว่า รำนำ ในละครโทรทัศน์เรื่อง กระเช้าสีดา ออกอากาศในปี พ.ศ. 2564 โดยช่องวัน มีทั้งหมด 16 ตอน ผลการวิจัยพบว่า ภาพแทน ตัวละครร้ายเพศหญิงมี 4 ภาพแทน ได้แก่ 1) ผู้ที่ขาดความอบอุ่น คือ กำพร้าพ่อและถูกเพื่อนร่วมเรียนดู ถูก 2) ผู้ที่มีนิสัยไม่ดี คือ เห็นแก่ตัว มีความฟุ้งเฟ้อ และใช้ความสวยงามเพื่อหาประโยชน์ 3) ผู้ไม่มีศีลธรรม คือ เป็นคนชอบโกหก ไม่มีความกตัญญูกตเวที ไม่รู้จักพอ และเป็นชู้กับสามีคนอื่น และ 4) ผู้หญิงที่มีเสน่ห์ เป็นผู้หญิงมีความสวยงาม เข้ากับสังคมได้ง่าย และเอาใจผู้ชายเก่ง จากภาพแทนทั้งหมด พบว่า ภาพแทน ผู้ที่ขาดความอบอุ่น ทำให้ตัวละครร้ายเพศหญิงพยายามหาวิธีการสร้างคุณค่าให้แก่ตนเอง โดยไม่คำนึงถึง คุณธรรมจริยธรรม และความถูกความผิดen
dc.description.abstractThis article aimed to study representations of the evil female protagonist called Rumnum in sixteen episodes of Kra-chao-sri-da, a television drama broadcasted on One Channel in 2021.The study found four representations of the protagonist studied, including 1) a deserted person, having no father and being bullied by classmates. 2) A mischievous person, being selfish; extravagant; and trading her beauty. 3) An immoral person, lying; ungrateful; greedy; and adulterous. 4) A charming woman, beautiful; socialized; and male pleasing. By all representations, it seemed that being deserted person initiated evilness in the protagonist; as a woman, she tried to build her self-esteem without ethical restraint or righteousness.en
dc.language.isothen
dc.rightsคณะกรรมการการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติen
dc.subjectกระเช้าสีดา (ละครโทรทัศน์) – ประวัติและวิจารณ์en
dc.subjectKra-chao-sri-da (Television series) – History and criticismen
dc.subjectตัวละครและลักษณะนิสัยen
dc.subjectCharacters and characteristicsen
dc.subjectสตรีในบทละครen
dc.subjectสตรีในวรรณกรรมen
dc.subjectWomen in literatureen
dc.subjectตัวละครเอกในวรรณกรรมen
dc.subjectProtagonists (Persons) in literatureen
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.subjectContent analysis (Communication)en
dc.titleภาพแทนตัวละครร้ายเพศหญิงในละครโทรทัศน์เรื่อง กระเช้าสีดาen
dc.title.alternativeRepresentations of the Evil Female Protagonist in Kra-chao-sri-da, a Television Dramaen
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Liberal Arts - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Representations-of-the-Evil-Female-Protagonist-in-Kra-chao-sri-da.pdf99.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.