Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3162
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorJuncai Li-
dc.contributor.authorพัชรินทร์ บูรณะกร-
dc.contributor.authorPatcharin Buranakorn-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Doctor of Arts Programen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2024-10-27T09:51:56Z-
dc.date.available2024-10-27T09:51:56Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3162-
dc.descriptionการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 14 (14th Hatyai National and International Conference) วันศุกร์ที่ 14 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุม Blue Ocean Hall อาคารคณะบริหารธุรกิจ โดย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และ Online Conference : หน้า 1438-1449en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://www.hu.ac.th/conference/proceedings/doc/07%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%20Ed/11.Ed-027%20(1438-1449).pdfen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมในแบบเรียนภาษาไทย 5 เล่ม ของทีมงาน GUFS โดยใช้แนวคิดทฤษฎีการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมในแบบเรียนของ Michael Byram ผลการวิจัยพบว่า 1) เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมไทยในแบบเรียนภาษาไทยชุด GUFS ครอบคลุมเนื้อหา เชิงวัฒนธรรมตาม 8 รายการของByram’s Checklist ได้แก่ เนื้อหาด้านการขัดเกลาทางสังคม (46.34%) โครงสร้างทางสังคม (10.98%) กลุ่มสังคม (9.76%) การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (8.54%) เหตุการณ์ประวัติศาสตร์(7.32%) ความเชื่อและพฤติกรรม (6.02%) ภูมิศาสตร์ (6.02%) และสามัญทัศน์ (4.88%) จะน้อยลงตามลำดับ 2) เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมจีนที่ปรากฎในแบบเรียนไม่ครอบคลุมเนื้อหาเชิงวัฒนธรรม ตาม 8 รายการของ Byram’s Checklist ได้พบเพียง 5 ด้าน ได้แก่ เนื้อหาด้านการขัดเกลาทางสังคม โครงสร้างทางสังคม การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ 3) ด้านการ เปรียบเทียบ เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมไทยมีมากกว่าเนื้อหาเชิงวัฒนธรรมจีนในทุกด้าน ซึ่งสัมพันธ์กับสาเหตุ 2 ประการคือ สาเหตุด้านนโยบายทางการศึกษา และเจตนาของผู้สร้างแบบเรียนen
dc.description.abstractThis research aims to analyze cultural contents in five GUFS textbooks of Thai language by evaluation theories of cultural contents in a textbook of Michael Byram. Research findings are: 1) Thai cultural contents in the textbooks studied cover the eight checklists of Byram, including contents of socialization (46.34%); social structures (10.98%); social groups (9.76%); social interactions (8.54%); historical events (7.32%); beliefs and behaviors (6.02%); geography (6.02%); and common views (4.88%). 2) Five areas of Chinese cultural contents are also found, including contents of socialization; social structures; social interactions; historical events; and national geography. 3) The found Thai cultural contents compared to Chinese cultural contents are exceeding; this is relevant to the educational policy and objectives of creators of the textbooks.en
dc.language.isothen
dc.rightsคณะกรรมการการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติen
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.subjectContent analysis (Communication)en
dc.subjectวัฒนธรรมไทยen
dc.subjectCultureen
dc.subjectภาษาไทย – ตำราสำหรับชนต่างชาติen
dc.subjectThai language -- Textbooks for foreign speakersen
dc.subjectภาษากับวัฒนธรรมen
dc.subjectLanguage and cultureen
dc.subjectการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมen
dc.subjectIntercultural communicationen
dc.titleการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมในแบบเรียนภาษาไทยชุด GUFS ตามทฤษฎีของ Michael Byramen
dc.title.alternativeAn Analysis of Cultural Contents in GUFS Textbooks of Thai Language by Michael Byram’s Evaluation of Cultural Contents in a Textbooken
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Liberal Arts - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
An-Analysis-of-Cultural-Contents-in-GUFS-Textbooks.pdf106.16 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.