Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/317
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจริยาวัตร คมพยัคฆ์-
dc.contributor.advisorอรพินท์ สีขาว-
dc.contributor.advisorJariyawat Kompayak-
dc.contributor.advisorOrapin Sikaow-
dc.contributor.authorรักนิรันดร์ ตานันต์-
dc.contributor.authorRakniran Tanan-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2022-05-20T13:00:23Z-
dc.date.available2022-05-20T13:00:23Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/317-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2561th
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความตระหนักรู้อาการเตือนโรคหลอดเลือดสมองและการจัดการอาการเตือนโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะเสี่ยงสูง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยสิทธิประกันสังคมที่ได้รับวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะเสี่ยงสูง มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหัวเฉียว จำนวน 285 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยตรวจสอบความตรงในเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุมิ จำนวน 3 คน ทดสอบความเที่ยวด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าปัจจัยที่มีผลกต่อความตระหนักรู้อาการเตือนโรคหลอดเลือดสมองโดยรวม 0.741 ความตระหนักรู้อาการเตือนโรคหลอดเลือดสมอง 0.775 ความตระหนักรู้ในการจัดการอาการเตือนโรคหลอดเลือดสมอง 0.810 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองภายหลังได้รับรองจริยธรรมการวิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test, One-way ANOVA และ Pearson correlation coefficient ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า ความตระหนักรู้อาการเตือนโรคหลอดเลือดสมองอยู่ระดับปานกลาง และความตระหนักรู้การจัดการอาการเตือนโรคหลอดเลือดสมองอยู่ระดับสูง ปัจจัยที่มีผลต่อความตระหนักรู้อาการเตือนโรคหลอดเลือดสมอง คือ 1) ลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ความเพียงพอของรายได้ การเจ็บป่วยของญาติสายตรงเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและการได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<0.005 2) การรับรู้ภาวะความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ประโยชน์ของการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและการรับรู้อุปสรรคของการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<0.001 และความตระหนักรู้อาการเตือนโรคหลอดเลือดสมองมีความสัมพันธ์กับความตระหนักรู้การจัดการอาการเตือนโรคหลอดเลือดสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิต p<0.001th
dc.description.abstractThe purpose of this research were to study factors that affected the awareness of stroke warning signs and management of stroke warning signs in patients with high-risk hypertension. The sample was 285 who were diagnosed with high-risk hypertension at Outpatient Department of Hua Chiew Hospital. The research instrument was the questionnaire was constructed by the researcher. The content validity was examined by three experts. The reliability was tested by Cronbach's alpha coefficient which factors affected the awareness of stroke warning signs was at 0.741, awareness of stroks warning sign was at 0.775, and awareness of stroke warning sign management was at 0.810. The researcher had done collection after the researhc ethics committee of Huachiew Chalermprakiet University approved. The data were analyzed by descriptive statistics and inferential statistics which include percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and Pearson correlation coefficient at the significance level of 0.05. The results of the research were: the awareness of level stroke warning signs was medium and highly level in awareness of stroke warning signs management, factors affected the awareness of stroke warning signs were, 1) personal factors including age, educational level, occupation, sufficiency of income, illness of direct relative relate to stroks, and stroks knowledge level, by statistically significant at p<0.05 2) the perceived susceptibility of stroke, the perceived benefit to risk behaviors of stroke, and the perceived barriers of reducing risk behaviors of stroke by statistically significant at p<0.001, the awareness of stroke warning signs had related to the awareness of stroke warning signs management by statistically significant at p<0.001.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectความดันเลือดสูงth
dc.subjectHypertensionth
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมองth
dc.subjectCerebrovascular diseaseth
dc.subjectความตระหนักth
dc.subjectAwarenessth
dc.titleความตระหนักรู้ในการจัดการอาการเตือนโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะเสี่ยงสูงth
dc.title.alternativeAwareness of Stroke Warning Sign Management among Patients with High-risk Hypertensionth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนth
Appears in Collections:Nursing - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RAKNIRANTANAN.pdf
  Restricted Access
1.33 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.