Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3200
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorLuo Shuying-
dc.contributor.authorธิดา โมสิกรัตน์-
dc.contributor.authorThida Mosikarat-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Master of Liberal Arts.en
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2024-11-03T02:43:00Z-
dc.date.available2024-11-03T02:43:00Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.isbn9786168074138-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3200-
dc.descriptionการประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยากรแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2562 วันที่ 20 ธันวาคม 2562 ณ อาคารบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง : หน้า 99-112en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงเอกสารฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : http://hugiswh.lpru.ac.th/human/views/Proceedings/LPRU2019-1.pdfen
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์เนื้อหาเกี่ยวกับผู้หญิงในสารคดีที่ได้รับรางวัลชมนาด พ.ศ.2553-2561 มี วัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาเกี่ยวกับผู้หญิงในสารคดีที่ได้รับรางวัลชมนาด ปี พ.ศ. 2553-2561 ขอบเขต งานวิจัยคือ สารคดีที่ได้รับรางวัลชมนาดที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้หญิงทั้งหมด7 เล่ม ได้แก่ ฉันคือเอรี่กับประสบการณ์ ข้ามแดน พฤกษามาตาก่อนสิ้นรุ่งอรุณแห่งฝันขังหญิงความฝันของฉันทนา โลกคู่ขนานและความงดงามของชีวิต โดยน าเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่าสารคดีที่ได้รับรางวัลชมนาดมีเนื้อหาที่น าเสนอชีวิตจริงของผู้หญิงไทยที่มาจากครอบครัว ยากจนต้องดิ้นรนเพื่อมีชีวิตอยู่รอดมีอาชีพต่างมีรายได้น้อยใช้แรงงานและขายบริการทางเพศสะท้อนปัญหาของ ผู้หญิงในสังคมไทยที่ขาดการศึกษาถูกกดขี่เอารัดเอาเปรียบและถูกข่มเหงรังแกโดยค่านิยมของผู้ชายที่มีต่อเพศ หญิงผู้หญิงพยายามเปลี่ยนแปลงชีวิตให้ดีขึ้นมีความอดทนท างานหนัก มีความรับผิดชอบ ไม่ยอมพ่ายแพ้และ พยายามแสวงหาวิธีการที่ท าให้หลุดพ้นจากปัญหาความทุกข์ยากและมุ่งมั่นที่จะต่อสู้กับปัญหาในชีวิตไม่ว่าจะ ประสบความส าเร็จหรือไม่ก็ตามen
dc.description.abstractThe objective of this study was to analyze the content of female characters in Chommanard Award Winning Documentaries during 2010-2018. The scope of this research was the content of seven documentaries namely Chan Kue Eri, Pruksa Ma Da, Korn Sin Rung Arun Haeng Fun, Khang Ying, Kwamfun Khong Chantana, Lok Koo Kanan and Kwam Ngod Ngam Khong Chevet. The present study used the descriptive research type. The findings revealed that the content of the targeted documentaries presented the reality of Thai women from poor labor families who struggled to survive and earn less income in prostitute career path. The results also reflected the problems of women in Thai society who lack of education. They were oppressed, exploited and bullied by the man’s value toward women. Women tried to improve their lives and find the ways to be free from misery without discouragement.en
dc.language.isothen
dc.rightsคณะกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางen
dc.subjectรางวัลชมนาดen
dc.subjectChommanard Book Prizeen
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.subjectContent analysis (Communication)en
dc.subjectสารคดีen
dc.subjectDocumentariesen
dc.subjectสตรีในวรรณกรรมen
dc.subjectWomen in literatureen
dc.titleการวิเคราะห์เนื้อหาที่เกี่ยวกับผู้หญิงในสารคดีที่ได้รับรางวัลชมนาด พ.ศ.2553-2561en
dc.title.alternativeThe Analysis of the Content Related to Female Characters in Chommanard Award Winning Documentaries during 2010-2018en
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Liberal Arts - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-Analysis-of-the-Content-Related-to-Female-Characters-in-Chommanard-Award .pdf99.06 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.