Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorWang Zhizi-
dc.contributor.authorจันทร์สุดา ไชยประเสริฐ-
dc.contributor.authorJansuda Chaiprasert-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Master of Liberal Arts.en
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2024-11-03T04:47:47Z-
dc.date.available2024-11-03T04:47:47Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.isbn9786168074138-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3210-
dc.descriptionการประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยากรแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2552 วันที่ 20 ธันวาคม 2562 ณ อาคารบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง : หน้า 455-465en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่: http://hugiswh.lpru.ac.th/human/views/Proceedings/LPRU2019-1.pdfen
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการปลูกฝังการใช้ชีวิตที่ยั่งยืนสำหรับเด็ก ในรายการโทรทัศน์ “ทุ่งแสงตะวัน” พ.ศ. 2561 ที่ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2561 จ านวน 52 ตอน ผลการวิจัย พบว่า เนื้อหาในรายการโทรทัศน์ “ทุ่งแสงตะวัน” พ.ศ. 2561 สามารถ แบ่งเป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1) สภาพธรรมชาติและการอยู่กับธรรมชาติ2) การสืบทอดวัฒนธรรม 3) การสืบทอด ภูมิปัญญาท้องถิ่น 4) การสร้างความผูกพันกับชุมชน และ 5) การติดตามผู้เคยร่วมรายการ ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของรายการ “ทุ่งแสงตะวัน” พ.ศ. 2561 รายการนำเสนอเนื้อหาดังกล่าวเพื่อให้คนในสังคมสนใจเรื่องธรรมชาติ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา และชุมชน ซึ่งล้วนเป็นเนื้อหาที่ผูกพัน และเป็นประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตที่ยั่งยืนสำหรับเด็กen
dc.description.abstractThis research aimed to study the content about creating sustainable lives for children of “Tung-Sang-Tawan” television program, broadcasting on Channel 3 in 2018. Fifty-two episodes were analyzed and the results showed that the content of the program in 2018 could be divided into five points, including living with the nature, cultural inheritance, local wisdom inheritance, creating of community bond and following up program participants, these were advantages of the 2018 episodes. All five points of the program aimed to persuade audience to pay attention to the nature, Thai culture, local wisdom, and communities. It can be clearly seen that the ultimate target of the program was to create sustainable lives for children.en
dc.language.isothen
dc.rightsคณะกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางen
dc.subjectทุ่งแสงตะวัน (รายการโทรทัศน์)en
dc.subjectTung-Sang-Tawan (Television program)en
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.subjectContent analysis (Communication)en
dc.subjectรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กen
dc.subjectTelevision programs for childen
dc.titleรายการทุ่งแสงตะวัน : การปลูกฝังการใช้ชีวิตที่ยั่งยืนสำหรับเด็กen
dc.title.alternativeThe Study of Tung-Sang-Tawan Television Program : Cultivation of the Sustainable Life for Childrenen
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Liberal Arts - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-Study-of-Tung-Sang-Tawan-Television-Program.pdf94.97 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.