Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3218
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิรัญกาญจ์ จันทรา-
dc.contributor.authorNiranyakarn Chantra-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Healthen
dc.date.accessioned2024-11-05T00:39:06Z-
dc.date.available2024-11-05T00:39:06Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3218-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบเครื่องมือวัดความเครียดด้วยแบบวัดความเครียดของโรงพยาบาลสวนปรุง (SPST20) และแบบวัดความเครียด Thai-JCQ โดยวัดความเครียดในนักศึกษาสาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามทั้งสองชุด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมานโดยใช้ Chi square หรือ Fisher’s Exact Test มาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ และระดับความเครียดที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.05 เปรียบเทียบผลของเครื่องมือวัดทั้งสองแบบด้วยค่าสหสัมพันธ์ One-way ANOVA และ T-Test ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อระดับความเครียด ได้แก่ เพศ(p-value = 0.03) และที่พักอาศัย (p-value = 0.02) และปัจจัยทางจิตสังคมที่มีความพันธ์กับระดับความเครียด ได้แก่ บทบาทหน้าที่ (p-value = 0.02) โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระดับความเครียดในระดับสูง(SPST20) และมีระดับความเครียดจากแบบวัด Thai-JCQ อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อเผชิญปัญหาจะมีพฤติกรรมเผชิญความเครียดแบบมุ่งแก้ปัญหามีและพฤติกรรมเผชิญความเครียดแบบมุ่งลดอารมณ์ทั้งสองแบบอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะการวิจัย ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในกลุ่มนักศึกษาที่มีระดับความเครียดสูงและรุนแรง และควรมีการศึกษาโดยการทดลองในกิจกรรมการลดความเครียด เช่นการออกกำลังกาย นั่งสมาธิเป็นต้นen
dc.description.abstractThe purpose of this study is to compare the results of the stress measurement between Suanprung Stress Test (SPST20) and Thai-JCQ by determining the results among 80 the 4th year students, majoring in Occupational health and safety. Their information was collected by using questionnaire. The descriptive statistics including amount, percentage, average and standard deviation were applied in data analysis. The Chi-Square or Fisher’s Exact Test were applied to analyze the relationships between the variables and stress level, at statistical significance level equal to 0.05. The Correlation, One-way ANOVA, and T-Test were applied to compare the results of two measurements. The results showed that gender (p-value = 0.03) and residential area (p-value = 0.02) are the significant factors related to stress level. In addition, Roles and responsibility (p-value = 0.02) is also the significant psychosocial factors relateded to stress level. Most of the subjects got stress in High level (measured by SPST20) and in medium level (measured by Thai-JCQ). According to the stress coping behavior, the subjects applied both of problem-focused coping and emotional-focused coping to control and relieve their stress. The suggestions for further study, the determination of depression should be applied to determine in the students who getting stress in serious level and the intervention of stress control such as physical exercise meditation should be concerned.en
dc.description.sponsorshipการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2561en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม. สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย -- นักศึกษาen
dc.subjectHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public Health and Environment. Occupational Health and Safety -- Studentsen
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)en
dc.subjectStress (Psychology)en
dc.subjectความเครียดในวัยรุ่นen
dc.subjectStress in adolescence.en
dc.subjectจิตวิทยาอุตสาหกรรมen
dc.subjectPsychology, Industrialen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบเครื่องมือวัดความเครียดในนักศึกษาสาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.title.alternativeThe Comparative Study on the Stress Measurement among the 4th year Bachelor Degree Student Majoring in Occupational Health and Safety, Huachiew Chalermprakiet Universityen
dc.typeTechnical Reporten
Appears in Collections:Public and Environmental Health - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-comparative-study-on-the-stress-measurement.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.