Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3223
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิญญ์ทัญญู บุญทัน-
dc.contributor.authorณัฐพล ชัยหาญ-
dc.contributor.authorWinthanyou Bunthan-
dc.contributor.authorNuttapol Chaihan-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2024-11-05T03:06:08Z-
dc.date.available2024-11-05T03:06:08Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3223-
dc.description.abstractผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อช่วยหายใจไม่สามารถสื่อสารความต้องการของตนเองด้วยการพูดได้ ดังนั้นพยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์จึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้ ส่งผลให้ทั้งพยาบาลและผู้ป่วยเกิดความรู้สึกเครียดและคับข้องใจตามมา สถานการณ์นี้อาจรบกวนการฟื้นตัวของผู้ป่วย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลของการพัฒนาโปรแกรมการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสื่อสารดิจิทัลเพื่อตอบสนองความต้องการสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมุทรปราการ จำนวน 60 ราย กลุ่มตัวอย่างได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจง แบ่งกลุ่มโดยวิธีการสุ่มแบบง่าย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เก็บข้อมูลช่วงเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมกราคม 2566 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสื่อสารดิจิทัลเพื่อตอบสนองความต้องการสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ 2) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 3) แบบสอบถามการได้รับการดูแลตามความต้องการ 4) แบบสอบถามประสิทธิภาพการสื่อสาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติไคแสควร์ สถิติฟิชเชอร์ เอ็กแซคท์สถิติทดสอบที และสถิติ ANCOVA ผลการวิจัยพบว่าหลังจากใช้โปรแกรม 48 ชั่วโมง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการได้รับการดูแลตามความต้องการ และประสิทธิภาพการสื่อสารสูงกว่าก่อนเริ่มโปรแกรมและสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ จึงสรุปได้ว่าโปรแกรมนี้ตอบสนองความต้องการของผู้ใส่ท่อช่วยหายใจที่อยู่ในภาวะวิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงและกลยุทธ์การสื่อสารที่ผู้ป่วยสามารถใช้งานได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว พยาบาลสามารถใช้โปรแกรมนี้ในทางปฏิบัติและประเมินประสิทธิภาพต่อไปก่อนที่จะใช้อย่างแพร่หลายในประเทศen
dc.description.abstractPatients with critical illnesses and those on intubation cannot express their needs through verbal language. Thus, nurses and other healthcare professionals might not meet their needs, resulting in frustration and more stress for nurses and patients. This situation may interfere with patients' recovery. In this quasi-experiment study, we developed and tested the effectiveness of the communication program using communicative technology for the needs of critically ill patients with intubation. Sixty participants who were critically ill and intubated were recruited from an intensive care unit of a secondary hospital in a province close to Bangkok, Thailand. They were alternately assigned weekly to the experimental (n = 30) and control groups (n = 30). The experimental group received the program for 48 hours, including the usual care in the intensive care unit. The control group received only the usual care in the intensive care unit. The questionnaires for data collection were a demographic data form, the Met Needs Questionnaire, and the Effectiveness of Communication Questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics, a chi-squared test, a Fisher exact test, a t-test, and ANCOVA. Findings revealed that after 48 hours of program implementation, the experimental group had significantly higher mean scores on met needs and effective communication than before starting the program and higher than that of the control group. Thus, it can be concluded that this program effectively met the needs of intubated people with critical illnesses with advanced technology and communication strategies that can be used easily, conveniently, and quickly. Nurses can use this program in practice and further evaluate its effectiveness before widespread use in the country.en
dc.description.sponsorshipการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2564en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectผู้ป่วยหนักen
dc.subjectCritically illen
dc.subjectผู้ป่วยหนัก -- การดูแลen
dc.subjectCritically ill -- Careen
dc.subjectผู้ปวย -- การใส่ท่อen
dc.subjectPatients -- Intubationen
dc.subjectการสื่อสารทางการพยาบาลen
dc.subjectCommunication in nursingen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสื่อสารดิจิทัลเพื่อตอบสนองความต้องการสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจen
dc.title.alternativeDeveloping a Communication Program by Communicative Technology for the Need’s Response of Critically Illness Patientsen
dc.typeTechnical Reporten
Appears in Collections:Nursing - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Developing-a-communication-program-by-communicative-technology.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.