Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3226
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Chiara Ayn Joven Lamarca | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-05T05:56:42Z | - |
dc.date.available | 2024-11-05T05:56:42Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3226 | - |
dc.description.abstract | Due to the shift from traditional methods (e.g., grammar translation & teacher-centered methods) to a communicative approach in English language teaching together with the effect of globalization, speaking skill has been given more emphasis compared to other macro skills (i.e., reading, writing, listening). However, language classes that require oral communication have been found to be more anxiety-inducing which debilitates learners’ oral engagement and outcome. In fact, the majority of Thai students suffer moderate to high public speaking anxiety. Psychologists and researchers have explored multiple interventions to alleviate the negative effects of public speaking (e.g., systematic desensitization, cognitive restructuring, visualization). However, these techniques can be time-consuming to be taught extensively in language classrooms. Thus, this study examined the effectiveness of diaphragmatic breathing in reducing overall self-perceived public speaking anxiety among Thai students. An experimental research design was used. The population of 38 undergraduate students was purposively put into two groups: the experimental (diaphragmatic breathing) with 19 students and the control group (non-diaphragmatic breathing) also with 19 students. Among the results, 1) the majority of the participants exhibited a high level of public speaking anxiety, 2) demonstrated a negative correlation between public speaking anxiety and students’ oral test performance, 3) the experimental group exhibited a significant reduction of public speaking anxiety than those from the control group. It can be implied that diaphragmatic breathing is a plausible intervention technique that can be integrated into speaking courses; it is not only effective at alleviating public speaking anxiety but also a less time-consuming (easy-to-do five minutes) and low-cost intervention that can enhance overall speaking performance. Incorporating diaphragmatic breathing is promising as it improves the overall communicative competence of the students. | en |
dc.description.abstract | เพื่อบรรเทาผลกระทบด้านลบของการพูดในที่สาธารณะ เช่น การลดความวิตกกังวลอย่างเป็นระบบ การปรับพฤติกรรมและความคิด การแสดงด้วยภาพ แต่อย่างไรก็ตามเทคนิคและวิธีการเหล่านี้อาจใช้เวลานานหากต้องการสอนโดยครอบคลุมในชั้นเรียน ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพโดยรวมของการใช้เทคนิคการหายใจด้วยกระบังลมในการลดความวิตกกังวลด้วยตนเอง ในการพูดในที่สาธารณะของนักเรียนไทย การวิจัยครั้งนี้ได้นำรูปแบบการวิจัยเชิงทดลองมาใช้ กลุ่มประชากรตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 38 คน และได้ถูกนำมาแบ่งออกเป็นสองกลุ่มโดยมีนัยสำคัญ ซึ่งทางผู้วิจัยจัดให้นักศึกษาระดับปริญญาตรี 19 คน อยู่ในกลุ่มทดลอง (การหายใจโดยใช้กระบังลม) และ จัดให้นักศีกษาระดับปริญญาตรี 19 คน อยู่ในกลุ่มควบคุม (การหายใจโดยไม่ใช้กระบังลม) ผลวิจัยพบว่า (1) ผู้เข้าร่วมการทดลองส่วนใหญ่มีความวิตกกังวลในการพูดในที่สาธารณะระดับสูง (2) มีการแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงลบระหว่างความวิตกกังวลในการพูดในที่สาธารณะ และ ผลทดสอบปากเปล่าของนักศึกษา (3) ประชากรนักศึกษาในกลุ่มทดลองมีความวิตกกังวลลดลงอย่างมีนัยสำคัญกว่านักศึกษาในกลุ่มควบคุม ซึ่งสามารถกล่าวโดยนัยได้ว่าการพูดโดยใช้กระบังลมในการหายใจเป็นเทคนิคการแทรกแทรงเทคนิคหนึ่งที่สามารถประยุกต์รวมเข้ากับหลักสูตรการพูดได้ เทคนิคนี้ไม่เพียงมีประสิทธิภาพในการบรรเทาความวิตกกังวลในการพูดในที่สาธารณะ แต่ยังใช้เวลาน้อย ทำได้ง่ายภายใน 5 นาที และเป็นเทคนิคการสอนต้นทุนต่ำที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการพูดโดยรวมอีกด้วย โดยสรุปแล้วการผสานเทคนิคการหายใจด้วยกระบังลม เป็นเทคนิคที่ช่วยเพิ่มศักยภาพการสื่อสารโดยรวมของนักศึกษา | en |
dc.description.sponsorship | This research is supported by Huachew Chalermprakiet University Academic Year 2022 | en |
dc.language.iso | en_US | en |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.subject | Anxiety | en |
dc.subject | ความวิตกกังวล | en |
dc.subject | Speech anxiety | en |
dc.subject | ความวิตกกังวลในการพูด | en |
dc.subject | Public speaking | en |
dc.subject | การพูดในชุมนุมชน | en |
dc.subject | English language -- Speaking | en |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ -- การพูด | en |
dc.subject | Students -- Thailand. | en |
dc.subject | นักศึกษา -- ไทย | en |
dc.subject | Diaphragmatic breathing | en |
dc.subject | การหายใจด้วยกะบังลม | en |
dc.title | The Use of Diaphragmatic Breathing in Alleviating Thai Students’ Public Speaking Anxiety | en |
dc.title.alternative | การใช้เทคนิคการหายใจด้วยกระบังลมเพื่อบรรเทาความวิตกกังวลในการพูดในที่สาธารณะของนักศึกษาไทย | en |
dc.type | Technical Report | en |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
THE-USE-OF-DIAPHRAGMATIC-BREATHING-IN-ALLEVIATING.pdf | 955.49 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.