Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3243
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนี นามจันทรา-
dc.contributor.advisorRachanee Namjuntra-
dc.contributor.advisorอรพินท์ สีขาว-
dc.contributor.advisorOrapin Sikaow-
dc.contributor.authorธัญญรัศม์ สังข์สำราญ-
dc.contributor.authorThanyalud Sungsumran-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2024-11-11T03:59:05Z-
dc.date.available2024-11-11T03:59:05Z-
dc.date.issued2010-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3243-
dc.descriptionการศึกษาอิสระ (พย.ม. ) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2553en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการส่งเสริมความสารถทางด้านการรู้คิดของผู้สูงอายุที่มีหรือเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อม โดยประยุกต์รูปแบบการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ของศูนย์ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง ประเทศสหรัฐอเมริการ (Soukup, 2000) โดยการศึกษานี้ดำเนินการเฉพาะ 3 ขั้นตอนแรก ได้แก่ 1) สิ่งกระตุ้นที่ทำให้สนใจศึกษาซึ่งมาจากปัญหาในการปฏิบัติการพยาบาล ร่วมกับองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมความสามารถทางด้านการรูคิดของผู้สูงอายุ 2) การทบทวนและสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ได้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 10 เรื่อง ประกอบด้วย Systematic Review of Randomized Control Trials 1 เรื่อง Randomized Control Trial 3 เรื่อง Quasi Experiment 2 เรื่อง Descriptive Research 1 เรื่อง และ Expert’s Opinion 3 เรื่อง และนำมาสังเคราะห์เป็นแนวปฏิบัติการพยาบาลในการส่งเสริมความสามารถทางด้านการรู้คิดของผู้สูงอายุที่มีหรือเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อม ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ เพื่อช่วยวินิจฉัยและบ่งบอกความรุนแรงของภาวะสมองเสื่อม และส่วนที่ 2 การจัดกิจกรรมการส่งเสริมความสามารถทางด้านการรู้คิดของผู้สูงอายุ 3) การทำแนวปฏิบัติการพยาบาลลงสู่การปฏิบัติ โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเหมาะสมของแนวปฏิบัติ และได้นำกิจกรรมการส่งเสริมความสามารถทางด้านการรู้คิดทั้งหมด ไปให้พยาบาลและนักกิจกรรมบำบัดทดลองใช้กับผู้สูงอายุเป็นเวลา 2 สัปดาห์ พบว่า สามารถนำไปใช้ได้ดี ผู้สูงอายุให้ความสนใจในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี พยาบาลและนักกิจกรรมบำบัดพึงพอใจในการนำไปใช้ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ คือ ควรนำแนวปฏิบัติการพยาบาลนี้ไปทดลองใช้กับผู้สูงอายุที่พักในสถานที่พักผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ใช้ระยะเวลาในการศึกษาให้นานขึ้น ควรมีการประเมินประสิทธิภาพการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลในการส่งเสริมความสามารถทางด้านการรู้คิดของผู้สูงอายุที่มีหรือเสี่ยงต่อภาวะสมอง ตลอดจนปรับและพัฒนาให้เป็ฯการปฏิบัติที่เป็นเลิศในองค์กรต่อไปen
dc.description.abstractThe purpose of this study is to develop a clinical nursing practice guideline for promoting cognitive ability of elders with dementia or being at risk in a nursing home by applying the model of evidence-based nursing practice of The Center of Advanced Nursing Practice of The United State of America (Soukup, 2000). The study was conducted only the first three phases of the model. 1) Evidence-trigger phase, the problem was identified from practice and knowledge triggers. 2) Evidence-supported phase, 10 related evidences consisted of one systematic review of randomized control trials, three randomized control trials, two quasi-experiments, one descriptive research, and three expert’s opinions. They were analyzed and synthesized to be a clinical practice guideline for elders with dementia or being at risk in a nursing home. The guideline composed of 2 parts, Part 1 Elder’s health assessment to diagnose and indicate the severity of dementia and Part 2 Activities arrangement for promoting cognitive ability to the elders. 3) Evidence-observed phase, the guideline was evaluated the appropriateness by 3 experts. Then all the activities in the guideline were tried out with the elders by a nurse and an activity-therapist for 2 weeks. It was found that the activities were practical. The elders paid attention to the activities well. The nurse and the activity-therapist were satisfied with these activities as well. The clinical nursing practice guideline should be longer continually use for the elders in the nursing home. It should be further evaluated for its effectiveness in promoting cognitive ability to elders with dementia or being at risk, and then adjusted and developed to be the best practice for the organization.en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectภาวะสมองเสื่อมen
dc.subjectDementiaen
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดูแลในสถานดูแลen
dc.subjectOlder people -- Institutional careen
dc.subjectแนวปฏิบัติการพยาบาลคลินิกen
dc.subjectClinical nursing practice guidelineen
dc.subjectการพยาบาลผู้สูงอายุen
dc.subjectGeriatric nursingen
dc.subjectการรู้คิดในวัยสูงอายุen
dc.subjectCognition in old ageen
dc.titleการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการส่งเสริมความสามารถด้านการรู้คิดของผู้สูงอายุที่มีหรือเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อมที่พักในสถานที่พักผู้สูงอายุen
dc.title.alternativeDevelopment of a Clinical Nursing Practice Guideline for Promoting Cognitive Ability of Elders with Dementia or Being at Risk in a Nursing Homeen
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนen
Appears in Collections:Nursing - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-Development-of-Clinical-Nursing.pdf18.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.