Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3252
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล | - |
dc.contributor.advisor | Thipaporn Phothithawil | - |
dc.contributor.author | ธนัญญา สุทธิจิตร. | - |
dc.contributor.author | Tananya Suttijit | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare | - |
dc.date.accessioned | 2024-11-11T14:17:11Z | - |
dc.date.available | 2024-11-11T14:17:11Z | - |
dc.date.issued | 2002 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3252 | - |
dc.description | สารนิพนธ์ (สส.ม.) (การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2545 | en |
dc.description.abstract | การวิจัย เรื่อง ความมั่นคงในชีวิตสมรสของแรงงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความมั่นคงในชีวิตสมรสของแรงงาน ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความมั่นคงในชีวิตสมรส โดยศึกษากลุ่มตัวอย่างที่เป็นแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรมจำนวน 244 คน ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและนำผลมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษาค่าร้อยละและค่าไคสแควร์ผลการวิจัยความมั่นคงในชีวิตสมรสพบว่า คู่สมรสมีความรู้สึกว่าครอบครัวมีปัญหา มีความคิดเรื่องการหย่าร้างและมีการขัดแย้งกันระหว่างคู่สมรสในระดับปานกลาง ส่วนการมีพฤติกรรมตอบโต้ การปรึกษาคนใกล้ชิดเรื่องการหย่าร้างและการตัดสินใจหย่าร้างอยู่ในระดับต่ำ ส่วนผลการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความมั่นคงในขีวิตสมรส พบว่า เพศ ระดับการศึกษา ความแตกต่างเรื่องการศึกษา การมีงานทำที่มั่นคง การทำงานเป็นกะ การทำงานของคู่สมรส การมีญาติอยู่ร่วมด้วย การสนับสนุนจากญาติพี่น้อง และเพื่อนมีความสัมพันธ์กับความมั่นคงในชีวิตสมรสในส่วนของข้อเสนอแนะด้านระดับนโยบาย คือ รัฐบาลควรให้ความสนใจในเรื่องของค่าแรงขั้นต่ำของแรงงาน รวมทั้งช่วยเหลือในด้านที่อยู่อาศัยโดยอาจก่อสร้างในรูปของแฟลตให้เช่าในราคาที่เหมาะสมกับแรงงาน และดูแลให้ลูกจ้างได้รับความเป็นธรรมจากนายจ้าง ซึ่งบางโรงงานลูกจ้างได้รับการเอาเปรียบจากนายจ้าง ส่วนข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ควรที่จะศึกษาในกลุ่มตัวอย่างอื่นๆ ที่มีความหลากหลายมากขึ้น โดยศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ต้องทำงานในระบบเข้าเวรยาม หรือเข้ากะ | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.subject | การสมรส | en |
dc.subject | Marriage | en |
dc.subject | ครอบครัว | en |
dc.subject | Families | en |
dc.subject | คุณภาพชีวิต | en |
dc.subject | Quality of life | en |
dc.subject | แรงงาน -- ไทย | en |
dc.subject | Labor -- Thailand | en |
dc.subject | สามีและภรรยา | en |
dc.subject | Husband and wife | en |
dc.title | ความมั่นคงในชีวิตสมรสของผู้ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม | en |
dc.title.alternative | A Marital Stability of Industrial Workers | en |
dc.type | Independent Studies | en |
dc.degree.name | สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม | en |
Appears in Collections: | Social Work and Social Welfare - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
A-Marital-Stability-of-Industrail-Workers.pdf Restricted Access | 16.95 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.