Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3258
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภัททิตา เลิศจริยพร-
dc.contributor.authorณภัทณ์ จันทร์ด่านสวัสดิ์-
dc.contributor.authorPattita Lurdjariyaporn-
dc.contributor.authorNapattchan Dansawad-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyen
dc.contributor.otherValaya Alongkorn Rajabhat University under Royal Patronage. Faculty of Science and Technologyen
dc.date.accessioned2024-11-12T14:43:40Z-
dc.date.available2024-11-12T14:43:40Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.citationวารสารวิจัยและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2,4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2564) : 23-37.en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3258-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JRIST/article/view/245863en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอกลุ่มทั่วไปของตัวประมาณอัตราส่วนแบบเลขชี้กําลัง สําหรับประมาณค่าเฉลี่ยประชากร โดยพัฒนาจากตัวประมาณของ Singh & Agnihotri (2008) และตัวประมาณ ของ Singh et al. (2009) ซึ่งจะทําการศึกษาภายใต้เงื่อนไขที่ตัวแปรที่สนใจศึกษามีความสัมพันธ์ในระดับสูงทางบวกกับตัวแปรช่วย ภายใต้การเลือกตัวอย่างสุ่มแบบง่ายแบบไม่ใส่คืน พร้อมทั้งศึกษาถึงความคลาดเคลื่อนกําลังสองเฉลี่ยและความคลาดเคลื่อนกําลังสองเฉลี่ยที่ตํ่าที่สุดของกลุ่มทั่วไปของตัวประมาณที่นําเสนอใหม่ และทําการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของกลุ่มทั่วไปของตัวประมาณที่นําเสนอใหม่กับตัวประมาณอื่น ๆ เช่น ตัวประมาณที่ไม่เอนเอียง ตัวประมาณของ Bahl & Tuteja (1991) Singh & Agnihotri (2008) Singh et al. (2009) เป็นต้น ผ่านการเปรียบเทียบทั้งทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้กับข้อมูลจริง ผลการศึกษาพบว่า กล่มทั่วไปของตัวประมาณที่นําเสนอมีประสิทธิภาพดีกว่าตัวประมาณอื่น ๆ อย่างมีเงื่อนไขในสถานการณ์ที่ตัวแปรที่สนใจศึกษามีความสัมพันธ์ในระดับสูงทางบวกกับตัวแปรช่วยen
dc.description.abstractThis paper aimed to propose a generalized exponential ratio estimator for estimating the population mean by adapting Agnihotri (2008) and Singh et al. (2009) estimator. When the correlation between the study variable and auxiliary variable is positively high under simple random sampling without replacement (SRSWOR). Mean squared error (MSE) and the minimum mean squared error (MMSE) of the proposed estimator has been studied and compared with unbiased estimator, Bahl & Tuteja (1991) estimator, Singh & Agnihotri (2008) estimator, Singh et al. (2009) estimator, etc. , through theoretical and empirical analysis. The results show that the new estimator performs better as compared to all other estimators where the correlation between study and auxiliary variables is highly positive.en
dc.language.isothen
dc.subjectตัวประมาณอัตราส่วน (คณิตศาสตร์)en
dc.subjectRatio estimatorsen
dc.subjectคณิตศาสตร์สถิติen
dc.subjectMathematical statisticsen
dc.subjectความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยen
dc.subjectMinimum Mean Squared Erroren
dc.subjectการวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์)en
dc.subjectError analysis (Mathematics)en
dc.titleกลุ่มทั่วไปของตัวประมาณอัตราส่วนแบบเลขชี้กำลัง สำหรับประมาณค่าเฉลี่ยประชากร โดยใช้ตัวแปรช่วยสองตัวen
dc.title.alternativeA Generalized Exponential Ratio Estimator for Estimating the Population Mean Using Two Auxiliary Variablesen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Science and Technology - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
A-Generalized-Exponential-Ratio-Estimator-for-Estimating-the-Population.pdf87.02 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.