Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3315
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภรัฐ หงษ์มณี-
dc.contributor.authorนัชชา บุญบำรุง-
dc.contributor.authorNatcha Boonbumrung-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare-
dc.date.accessioned2024-12-01T05:07:28Z-
dc.date.available2024-12-01T05:07:28Z-
dc.date.issued2000-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3315-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (สส.ม.) (การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2543.en
dc.description.abstractการศึกษาระดับสุขภาพจิตพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ปรากฏอาการปัญหาสุขภาพจิตบ้างพอสมควร โดยอยู่ในวิสัยที่สามารถแก้ไขได้ ปัญหาที่พบที่สำคัญ คือ ความเครียดไม่อยากเล่นหรือยุ่งเกี่ยวกับเพื่อนฝูง ความรู้สึกกลัวโดยไม่ทราบสาเหตุ ความเกรงกลัวการถูกลงโทษจากครู การบังคับตนเองไม่ได้ และความลำบากในการตัดสินใจด้วยตนเองการศึกษาพบว่ามีปัจจัย 2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับสุขภาพจิตของนักเรียน คือ เพศ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา สถานภาพสมรสของผู้ปกครอง และระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางจากบ้านไปโรงเรียน โดยนักเรียนที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยดี คือ นักเรียนที่มีบิดามารดาอยู่ร่วมกัน และนักเรียนที่ใช้เวลาในการเดินทางจากบ้านมาโรงเรียนน้อย จะมีภาวะสุขภาพจิตที่ดีกว่า ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเพื่อลดปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพจิตของนักเรียน โดยการสร้างเสริมการเอาใจใส่ให้เวลาบุตรธิดาของผู้ปกครอง การจัดกิจกรรมร่วมระหว่างโรงเรียน และผู้ปกครอง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่นักเรียน การให้ความสนใจแก่นักเรียนกลุ่มพิเศษ การปรับปรุงบทบาทของครูและการอำนวยความสะดวกด้านรถรับส่งนักเรียน พร้อมทั้งให้โรงเรียนจัดให้มีพระสงฆ์เข้ามาอบรมด้านจริยธรรม และศีลธรรม เพื่อขัดเกลานิสัย พฤติกรรม และเป็นการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียนด้วย ข้อเสนอแนะงานวิจัยครั้งต่อไป ควรทำการเปรียบเทียบสุขภาพจิตในแต่ละโรงเรียนโดยการศึกษาเจาะลึกเฉพาะกลุ่มนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพจิต รวมถึงศึกษารูปแบบกระบวนการให้คำแนะแนวของแต่ละโรงเรียนและการติดตามศึกษากลุ่มนักเรียนอย่างต่อเนื่องจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6en
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- สระบุรีen
dc.subjectHigh school students -- Thailand -- Saraburien
dc.subjectสุขภาพจิต -- ในวัยรุ่นen
dc.subjectMental health -- in adolescenceen
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพจิตของนักเรียน : ศึกษากรณีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสระบุรีen
dc.title.alternativeFactors Effecting Mental Health of Secondary School Students a Case Study of Secondary School Students under the Department of General Education in Saraburi Provinceen
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการจัดการโครงการสวัสดิการสังคมen
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Factors-Effecting-Mental-Health.pdf
  Restricted Access
8.74 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.