Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3331
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกพร นทีธนสมบัติ-
dc.contributor.authorชฎาภา ประเสิรฐทรง-
dc.contributor.authorอิสรีย์ เหลืองวิลัย-
dc.contributor.authorKanokporn Nateetanasombat-
dc.contributor.authorChadapa Prasertsong-
dc.contributor.authorItsaree Luengwilai-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2024-12-02T14:33:15Z-
dc.date.available2024-12-02T14:33:15Z-
dc.date.issued2024-
dc.identifier.citationวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะ 28,1 (มกราคม-มิถุนายน 2567) :114-126.en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3331-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/260015/182653en
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระหว่างนักศึกษาที่ได้รับรูปแบบการสอนเพื่อเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการพยาบาลสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ และนักศึกษาที่ได้รับการสอนตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 จำนวน 52 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย รูปแบบการสอนเพื่อเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณฯ เอกสารประกอบการสอนเรื่องภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ กรณีศึกษาจำนวน 3 ราย และแบบประเมินการคิดอย่างมีวิจารณญาณฯ เครื่องมือได้รับการตรวจสอบความตรงเนื้อหา จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน และตรวจสอบค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .76 การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยาย Paired t-test และ Independent t-test ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มควบคุม มีอายุ 21 ปี คิดเป็นร้อยละ 42.30 เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 96.15 และเกรดเฉลี่ยสะสม เท่ากับ 2.51-3.00 คิดเป็นร้อยละ 57.70 ส่วนกลุ่มทดลอง มีอายุ 21 ปี คิดเป็นร้อยละ 53.84 เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 100 และเกรดเฉลี่ยสะสม เท่ากับ 2.51-3.00 คิดเป็นร้อยละ 46.15 คะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาทั้งสองกลุ่มเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับคะแนนเต็ม 23 คะแนน โดยกลุ่มควบคุม มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 40.43 เป็น 78.56 ส่วนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 39.26 เป็น 91.60 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการพยาบาลสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ภายหลังการทดลองกับก่อนการทดลอง พบว่านักศึกษากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณฯ ภายหลังการทดลองเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณฯ ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองภายหลังการทดลอง พบว่า นักศึกษากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองมีการคิดอย่างมีวิจารณญาณฯ ไม่แตกต่างกัน รูปแบบการสอนนี้เพิ่มทักษะการเรียนรู้ผ่านการใช้กรณีศึกษาในสถานการณ์ที่มีความหลากหลายส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพิ่มมากขึ้นen
dc.description.abstractThis quasi-experimental research aimed to compare mean scores between nursing students who received a teaching model for enhancing critical thinking in prenatal nursing care of women with gestational diabetes mellitus, and nursing students who received regular teaching. The samples were 52 junior nursing students. They were divided into an experimental group and a control group. Each group had 26 samples. The research instruments included a teaching model for enhancing critical thinking, teaching materials on gestational diabetes mellitus, three case studies, and assessment form on critical thinking. The content validity had been examined by three experts and the reliability was 0.76. The data were analyzed by descriptive statistics, paired t-test, and independent t-test. This study found that the majority of control group were 21 years old (42.30%). 96.15% were female. The GPA was between 2.51-3.00 (57.70%). Meanwhile, the majority of experimental group were 21 years old (53.84%) and all were female (100%). The GPA was between 2.51-3.00 (46.15%). Both the control group and the experimental group had increased critical thinking in prenatal nursing care of women with gestational diabetes mellitus when compares with the total 23 scores. The control group had increased the mean scores from 40.43% to 78.56%, whereas the experimental group had increased the mean scores from 39,26% to 91.60%. The comparison of mean scores of critical thinking after and before the experiment found that junior nursing students of the control and experimental groups had significantly critical thinking after the experiment at 0.05. However, comparison of mean scores of critical thinking between the control and experimental groups after the experiment found that nursing students of the control and experimental groups had not different on critical thinking. This teaching model would increase learning skill by using case studies in various situations, which would have the effect of increasing mean scores of critical thinking.en
dc.language.isothen
dc.subjectเบาหวานขณะตั้งครรภ์en
dc.subjectDiabetes in pregnancyen
dc.subjectความคิดอย่างมีวิจารณญาณen
dc.subjectCritical thinkingen
dc.subjectนักศึกษาพยาบาลen
dc.subjectNursing studentsen
dc.subjectการพยาบาล – การศึกษาและการสอนen
dc.subjectNursing -- Study and teachingen
dc.titleผลของรูปแบบการสอนเพื่อเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการพยาบาลสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์en
dc.title.alternativeEffects of Teaching Model for Enhancing Critical Thinking in Prenatal Nursing Care of Women with Gestational Diabetes Mellitusen
dc.typeArticleen
dc.email.authoren
Appears in Collections:Nursing - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Effects-of-Teaching-Model-for-Enhancing-Critical-Thinking-in-Prenatal-Nursing-Care .pdf98.57 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.