Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3412
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกัมปนาท สมหวัง-
dc.contributor.authorแววมยุรา คำสุข-
dc.contributor.authorทัศนีญา ผิวขม-
dc.contributor.authorKampanat Somwang-
dc.contributor.authorWawmayura Chamsuk-
dc.contributor.authorThatsaneeya Phiukhom-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration. Student of Bachelor of Business Administration;en
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationen
dc.date.accessioned2024-12-30T07:01:13Z-
dc.date.available2024-12-30T07:01:13Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3412-
dc.descriptionการประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. พระนคร ครั้งที่ 3 (Proceedings of the 3rd RMUTP Conference on Engineering and Technology-The 3Rd ENGCON-RMUTP 2018) 23 มีนาคม 2561 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร : หน้า 368-371.en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : eng.rmutp.ac.th/web2558/wp-content/uploads/2024/12/Proceedings-Engcon3th.pdfen
dc.description.abstractบทความนี้กล่าวเกี่ยวกับกระบวนการผลิตอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือนที่ใช้ในอุตสาหกรรม เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือนที่ใช้ในอุตสาหกรรมและลดเวลาในกระบวนการเจาะ Leaf spring clamping bar การศึกษาพบว่าปัญหาที่ได้จากการศึกษาข้อมูลคือการเจาะ Leaf spring clamping bar เกิดเวลาสูญเสียในการทำงานเพราะชิ้นงานติดดอกสว่านในขณะที่ทำการเจาะจึงทำให้ต้องหยุดเครื่องจักรในขณะที่ปฏิบัติงานและเกิดเวลาสูญเสียในการทำงาน หลังจากนั้นจึงทำการวิเคราะห์หัวข้อของปัญหาด้วยหลักการของแผนภูมิก้างปลา และวิเคราะห์แนวทางการปรับปรุงและพัฒนาด้วยเทคนิค Why-Why Analysis เพื่อแก้ไขปัญหา เมื่อได้ข้อสรุปจากหลักการดังกล่าว จึงทำการปรับปรุงและพัฒนาอุปกรณ์ที่ช่วยจับยึดชิ้นงานหรือ Fixture ที่สามารถทำให้ชิ้นงานไม่ติดดอกสว่านและสามารถเดินเครื่องจักรต่อเนื่องได้ ผลที่ได้จากการปรับปรุงทำให้สามารถลดเวลาการทำงานต่อชิ้นลง จากเดิม ใช้เวลา 38.42 วินาทีต่อชิ้น ลดลงเหลือ 22.87 วินาทีต่อชิ้น ทำให้ผลิตภาพการผลิตเพิ่มขึ้นตามไปด้วยจากเดิม 749.6 ชิ้นต่อวัน เพิ่มเป็น 1,259.29 ชิ้นต่อวัน คิดเป็น 59.52% ของผลที่ได้รับและลดต้นทุนที่ไม่จำเป็นลง หลังจากปรับปรุงสามารถลดในส่วนของค่าแรงล่วงเวลาลงได้คิดเป็น 33.38 % ของผลที่ได้รับen
dc.description.abstractThe purpose of this study was to examine the process and causing tremors in the industry. Optimized to produce devices that cause tremors in the industry and reduce the time to process drilling Leaf spring clamping bar showed that the problem of the study is to drill Leaf spring clamping bar was at a loss to. the work piece mounted drill while drilling, the machine must be stopped while workers and lost time at work. Then analyzes the topic of a problem with the principle of fishbone chart. And analyze, improve and develop technical solutions to Why-Why Analysis. Upon conclusion of such principles. The improvement and development of devices that help hold the workpiece or workpiece Fixture which can not drill the placenta and can be used continuously for a walk. The results of the improvements made to reduce working time per piece, down from 38.42 seconds to take the pieces fell 22.87 seconds per piece. Thus productivity increased accordingly from 749.6 pieces per day to 1,259.29 per day, representing 59.52% of the results obtained and reducing unnecessary costs down. The improvement in the reduction of overtime wages to be equal to 33.38% of the results obtained.en
dc.language.isothen
dc.rightsมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครen
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen
dc.subjectLoss controlen
dc.subjectบริษัท ซินโฟเนียร์ เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัดen
dc.subjectSinfonia Technology (Thailand) Co., Ltd.en
dc.subjectไคเซ็นen
dc.subjectKaizenen
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen
dc.subjectProcess controlen
dc.subjectการวางแผนการผลิตen
dc.subjectProduction planningen
dc.subjectการเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรมen
dc.subjectIndustrial productivityen
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต โดยใช้แนวคิดไคเซ็น กรณีศึกษา บริษัท ซินโฟเนียร์ เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัดen
dc.title.alternativeManufacturing Process Improvement to Increase Efficiency In the Production Process The Concept of Kaizen Case Study : Sinfonia Technology (Thailand) Co., Ltd.en
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Business Administration - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Manufacturing-Process-Improvement-to-Increase-Efficiency.pdf114.53 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.