Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3415
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศุภาพิชญ์ ดานาคแก้ว-
dc.contributor.authorณภัทร ศรีนวล-
dc.contributor.authorSupapit Damnakkeaw-
dc.contributor.authorNapat Srinual-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration. Student of Bachelor of Business Administration;en
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationen
dc.date.accessioned2024-12-30T07:13:31Z-
dc.date.available2024-12-30T07:13:31Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3415-
dc.descriptionการประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. พระนคร ครั้งที่ 3 (Proceedings of the 3rd RMUTP Conference on Engineering and Technology-The 3Rd ENGCON-RMUTP 2018) 23 มีนาคม 2561 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร : หน้า 348-351.en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : eng.rmutp.ac.th/web2558/wp-content/uploads/2024/12/Proceedings-Engcon3th.pdfen
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองโดยใช้วิธีการกระบวนการในการตัดสินใจแบบวิเคราะห์ตามลำดับชั้น ในการคัดเลือกบริษัทผู้ให้บริการรับจัดส่งสินค้าระหว่างประเทศ กลุ่มผู้ตัดสินใจเป็นหัวหน้าแผนกนำเข้า-ส่งออกรวมทั้งสิ้น 4 รายโดยใช้แบบสอบถามและการเปรียบเทียบคู่ ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยหลักที่นำมาวิเคราะห์มีความสำคัญสูงสุด คือปัจจัยด้านประสิทธิภาพในการส่งปัจจัยด้านต้นทุน ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพ และปัจจัยด้านศักยภาพในการตอบสนอง ตามลำดับ ขณะที่ปัจจัยรองที่ได้มีค่ามากที่สุดสามอันดับแรก ได้แก่ การจัดส่งสินค้าตรงเวลาและสินค้าอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ ราคาค่าขนส่งสุทธิ และการตรวจสอบสถานะที่แม่นยา ตามลำดับ จากการวิเคราะห์ค่าน้ำหนักความสาคัญจากเกณฑ์หลัก เกณฑ์รอง และทางเลือกทั้ง 7 บริษัทที่ผู้ตัดสินใจได้เลือกแล้ว พบว่า อันดับของผู้ให้บริการรับจัดส่งสินค้า อันดับแรกคือ บริษัท B จำกัดen
dc.description.abstractThe objective of this study is to apply analytical hierarchy process model to select freight forwarders. Decision making takes place by 4 members of senior management in import - export by questionnaire and pairwise judgment comparison data. Results show that the most important factor in main criteria is efficiency in service delivery, cost, technology, physical evidence and responsiveness respectively. In sub-criteria, the most three significant factors are on-time delivery and goods in perfect condition, net transport cost and tracking accuracy respectively. After the analysis of main criteria, sub-criteria and 7 freight forwarders in multi-criteria decision model, the selection of company XXX in first placed is company B.en
dc.language.isothen
dc.rightsมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครen
dc.subjectกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์en
dc.subjectAnalytical hierarchy processen
dc.subjectบริการจัดส่งสินค้าen
dc.subjectDelivery of goodsen
dc.subjectผู้ประกอบการขนส่งen
dc.subjectFreight forwardersen
dc.subjectการตัดสินใจen
dc.subjectDecision makingen
dc.titleการประยุกต์ใช้กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นในการคัดเลือกบริษัทผู้ให้บริการรับจัดส่งสินค้าระหว่างประเทศ กรณีศึกษาแผนกส่งออก บริษัท XXX จำกัดen
dc.title.alternativeThe Application of Analytical Hierarchy Process for Freight Forwarders Selection A Case Study In Export Department of The XXX.,Ltd.en
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Business Administration - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-Application-of-Analytical-Hierarchy-Process-for-Freight-Forwarders .pdf109.43 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.