Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3443
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิตยา ยุทธโอภาส-
dc.contributor.authorจตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร-
dc.contributor.authorNittaya Yutthaophat-
dc.contributor.authorJaturong Boonyarattanasoontorn-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare. Student of Master of Social Work and Social Welfareen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfareen
dc.date.accessioned2025-01-03T14:54:21Z-
dc.date.available2025-01-03T14:54:21Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.citationวารสารสังคมภิวัฒน์ 9,2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2018) : 63-80en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3443-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความ (Full Text) ได้ที่ : https://so04.tci-thaijo.org/index.php/thaijss/article/view/177854/126565en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาศึกษาความพอเพียงของผู้ช่วยคนพิการกับจํานวนคนพิการที่ควรได้รับการดูแลในจังหวัดนครสวรรค์เพื่อศึกษาบทบาทที่คาดหวังตามระเบียบหรือหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้และบทบาทที่ทําได้จริงของผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและความต้องการการสนับสนุนของผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตคนพิการก่อนและหลังจากการดูแลโดยผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพในรูปแบบของกรณีศึกษาโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มได้แก่ผู้ช่วยคนพิการจํานวน 15 คนคนพิการที่ได้รับการดูแลโดยผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์จํานวน 15 คนผู้อํานวยการศูนย์บริการคนพิการจังหวัดนครสวรรค์และผู้อํานวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงานกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการผลการศึกษาพบว่าผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุน้อยที่สุดคือ 34 ปีและสูงที่สุดคือ 68 ปีโดยการศึกษาต่ําที่สุดคือระดับประถมศึกษาจํานวน 7 คนสูงที่สุดคือระดับปริญญาตรีจํานวน 3 คนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือเกษตรกรรมจํานวน 8 คนและบางคนเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) โดยผู้ช่วยผู้พิการส่วนใหญ่ในจังหวัดนครสวรรค์จะมีจํานวนผู้พิการที่ต้องดูแลต่ําที่สุดคือ 3 คนและมีจํานวนผู้พิการที่ต้องดูแลมากที่สุดคือ 5 คนจากจํานวนคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์ทั้งหมด 32,772 คนมีคนพิการที่ได้รับการบริการจากผู้ช่วยคนพิการจํานวน 54 คนซึ่งคิดเป็นร้อยละ 0.16 โดยในจังหวัดนครสวรรค์ยังมีคนพิการที่ไม่ได้ใช้บริการผู้ช่วยคนพิการถึงร้อยละ 99.84 และจากจํานวนผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์ที่มีอยู่ 15 คนเมื่อเปรียบเทียบกับจํานวนผู้พิการทั้งหมดในจังหวัดนครสวรรค์มีสัดส่วนผู้ช่วยคนพิการต่อจํานวนคนพิการคิดเป็นร้อยละ 0.04 เท่านั้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าจํานวนผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์ไม่เพียงพอต่อจํานวนผู้พิการที่มีอยู่ในจังหวัดโดยปัญหาและอุปสรรค์ที่ส่งผลต่อความเพียงพอของจํานวนผู้ช่วยคนพิการมีดังนี้คือ 1) ผู้ที่ต้องการทําหน้าที่ผู้ช่วยคนพิการยังมีน้อยเนื่องจากบทบาทและหน้าที่ตามระเบียบหรือหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้การดูแลคนพิการเป็นงานที่หนักซึ่งต้องการผู้ที่มีจิตอาสาอย่างแท้จริงเพราะต้องทําหน้าที่ดูแลคนพิการที่ช่วยตัวเองไม่ได้ในการพลิกตัวอาบน้ําแต่งตัวทําความสะอาดร่างกายให้คนพิการเมื่อมีการขับถ่ายอุจาระหรือปัสสาวะฯลฯซึ่งผู้ช่วยคนพิการที่ผ่านการอบรมแล้วบางคนไม่ต้องการเป็นผู้ช่วยคนพิการเพราะไม่สามารถทํางานเหล่านั้นได้ 2) ค่าตอบแทนที่ผู้ช่วยคนพิการได้รับเมื่อเปรียบเทียบกับภาระงานที่ต้องทํายังไม่สามารถสร้างแรงจูงใจในการทํางานได้และ 3) การอบรมผู้ช่วยคนพิการเพื่อเพิ่มจํานวนในแต่ละปียังไม่เพียงพอกับปริมาณคนพิการที่ไม่สามารถช่วยตนเองซึ่งเพิ่มขึ้นทุกปีบทบาทที่คาดหวังตามระเบียบหรือหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้กับบทบาทที่ทําได้จริงของผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์พบว่าบางบทบาทหน้าที่นั้นผู้ช่วยคนพิการไม่สามารถปฏิบัติได้เช่นการทําความสะอาดร่างกายและการแต่งตัวให้กับผู้พิการเนื่องจากเพศสภาพที่แตกต่างกันของผู้ช่วยคนพิการกับผู้พิการและข้อจํากัดด้านอายุของผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์ซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไปถึง 8 คนและผู้ช่วยคนพิการที่มีอายุมากที่สุดคือ 68 ปีทําให้มีความลําบากในบางบทบาทหน้าที่ปัญหาอุปสรรคและความต้องการการสนับสนุนของผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์พบว่าปัญหาอุปสรรคของผู้ช่วยคนพิการคือค่าตอบแทนที่ได้รับอยู่ในปัจจุบันไม่เพียงพอในการดํารงชีวิตเนื่องจากผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์มีรายได้หลักจากการที่ครอบครัวประกอบอาชีพเกษตรกรรมและการค้าขายทําให้การปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลคนพิการนั้นทําได้ไม่เต็มที่เนื่องจากต้องทํางานช่วยครอบครัวในการหารายได้หลักส่วนความต้องการการสนับสนุนของผู้ช่วยคนพิการพบว่าส่วนใหญ่ต้องการให้มีการจัดการฝึกอบรมเพิ่มเติมทั้งในเรื่ององค์ความรู้ที่เกี่ยวกับสิทธิคนพิการใหม่ๆหรือการแลกเปลี่ยนความรู้ในการดูแลคนพิการระหว่างผู้ช่วยคนพิการภายในจังหวัดและมีความต้องการการสนับด้านอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานการเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตคนพิการก่อนและหลังจากการดูแลโดยผู้ช่วยคนพิการในจังหวัดนครสวรรค์พบว่าคนพิการที่เป็นกรณีศึกษาทั้ง 15 กรณีหลังจากได้รับการดูแลจากผู้ช่วยคนพิการแล้วมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในมิติด้านร่างกายด้านจิตใจและด้านความสัมพันธ์ทางสังคมen
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1. to study the sufficiency of personal assistant for the number of disabled people in Nakhon Sawan Province in order to study the expected roles and actual roles of personal assistants in this province 2. to study problems and supported needs of personal assistants in Nakhon Sawan Province and 3. to compare quality life of disabled people before and after receiving service. It was case study as a type of qualitative research by in-depth interview. The samples were divided into four groups: 15 personal assistants, 15 disabled people who received service from personal assistants, director of disability Service Center, director of Strategy and planning Division and Department for Empowerment of Persons with Disabilities. Most of personal assistants are women. The eldest is 68 years old. The youngest is 34 years old. The highest education is bachelor’s degree. The lowest education is elementary. Most personal assistants are agriculturists. There are 8 agriculturists. Some personal assistants are Village Health Volunteer. Most of personal assistants look after 3 disabled people. The percentage is 0.16. The percentage of disabled people who didn’t receive service is 99.84 from 15 personal assistants. The percentage of personal assistants per disabled people is 0.04. It reflected that the number of personal assistants is not sufficient for disabled people in Nakhon Sawan Provine. The insufficient problems affect the number of disabled people in Nakhon Sawan Province 1. There are not many personal assistants because roles and duties of looking after are hard work. They have to help disabled people to turn over, take shower, dress and clean their bodies when they are in toilet. Moreover, there are some personal assistants who passed training, they didn’t want to be personal assistant because roles and duties of personal assistant are hard work. 2. The compensation of personal assistants is not balance with duties so it’s not persuade to work. 3. The personal assistant training for increasing and improving is not sufficient for the number of disabled people which increase every year. Some expected roles and actual roles of personal assistants couldn’t work such as cleaning disabled people’s bodies and dressing because of the different genders between disables person and personal assistant. Moreover, there are 8 elders of 50 years old and the eldest is 68 years old so it’s hard to work in some situations. The supported need problems of personal assistants in Nakhon Sawan Province is low compensation for living. Most of personal assistants are agriculturists and venders so they couldn’t work as personal assistant well enough. The main supported need of personal assistant are more training of disabled people rights, changing experience and supporting equipment for working. The comparison of quality life between before and after receiving service from personal assistant indicated that 15 disabled people had better emotional, physical and social developments.en
dc.language.isothen
dc.subjectผู้ช่วยคนพิการen
dc.subjectคนพิการ -- ไทย -- นครสวรรค์en
dc.subjectPeople with disabilities -- Thailand -- Nakhonsawanen
dc.subjectคุณภาพชีวิตen
dc.subjectQuality of lifeen
dc.titleการจัดบริการผู้ช่วยคนพิการกับคุณภาพชีวิตคนพิการที่ได้รับการดูแล: กรณีศึกษาจังหวัดนครสวรรค์en
dc.title.alternativeThe Personal Assistant Services for Persons with Disabilities and Theirs Quality of Life : A Case study of Nakhonsawan Provinceen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-Personal-Assistant-Services-for-Persons-with-Disabilities.pdf85.78 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.