Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธิดา โมสิกรัตน์-
dc.contributor.authorวิไล ธรรมวาจา-
dc.contributor.authorพิฐชญาณ์ อธิเลิศธนานนท์-
dc.contributor.authorวนิสา สัมภวะผล-
dc.contributor.authorThida Mosikarat-
dc.contributor.authorWilai Thamvaja-
dc.contributor.authorPitchaya Atilerttananon-
dc.contributor.authorWanisa Sumpavapol-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2025-01-04T09:07:19Z-
dc.date.available2025-01-04T09:07:19Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.citationวารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 13, 25 (มกราคม-มิถุนายน 2561) : 13-27en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3459-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/143034/105865en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาการใช้ภาษาในด้านทักษะการเขียนของนักศึกษาจีน หลักสูตร ศศ.ม. สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และ 2) ศึกษาความคิดเห็นของอาจารย์และนักศึกษาจีนที่มีต่อปัญหาและการพัฒนาความสามารถในการเขียนของนักศึกษาในหลักสูตร ศศ.ม. สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์งานเขียนที่เป็นแบบฝึกหัดและกิจกรรมการเขียนของนักศึกษาจีนในรายวิชา TC 8253 การเขียนภาษาไทยขั้นสูง และ TC 8263 การอ่านภาษาไทยขั้นสูง ซึ่งเปิดสอนในปีการศึกษา 2556 – 2557 กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มนักศึกษาจีนที่เลือกแบบเจาะจง จําานวน 33 คน และกลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มสนทนาย่อย เลือกแบบสุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาจีน จําานวน 20 คน และอาจารย์ผู้สอนภาษาไทยแก่ชาวต่างประเทศ จําานวน 6 คน ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาจีนมีปัญหาการใช้ภาษาไทย ได้แก่ 1) ปัญหาการใช้คําา ใช้คําาไม่ถูกต้องในการเขียนการันต์ การเลือกใช้คําา การเว้นวรรคตอน และการใช้เครื่องหมายต่าง ๆ 2) ปัญหาการใช้ประโยค เขียนรูปประโยคไม่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ใช้ภาษาพูดและใช้ระดับภาษาไม่ถูกต้อง ใช้รูปประโยคภาษาต่างประเทศ เขียนประโยคไม่สละสลวย และ 3) ปัญหารูปแบบการเขียน เขียนย่อหน้าที่ขาดเอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตถภาพ และเขียนองค์ประกอบเรื่องไม่สมบูรณ์ ในด้านความคิดเห็นของกลุ่มสนทนาย่อยที่เป็นนักศึกษาจีนและอาจารย์ผู้สอนพบว่ามีความคิดเห็นสอดคล้องกันคือ สาเหตุของปัญหาการเขียนเกิดจากขาดความรู้หลักการใช้ภาษาไทยและไม่ได้ฝึกทักษะภาษาด้านต่าง ๆ อย่างเพียงพอ โดยมีความเห็นว่าแนวทางการแก้ไขปัญหาการเขียน คือการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ทักษะภาษาทั้ง 4 และสอดแทรกหลักการใช้ภาษาในรายวิชาต่าง ๆ ส่งเสริมการอ่านและการทําากิจกรรมการเขียนประเภทต่าง ๆen
dc.description.abstractThe purpose of this research is to 1) study the Thai writing problem of Chinese Students taking Communicative Thai as a second language program at Huachiew Chalermprakiet University and 2) discuss the problem with the instructors and Chinese students to figure out the way to improve their Thai writing skill. This qualitative research started from analyzing students’ worksheets and activities in two courses, TC 8253 Advance Thai Writing and TC 8263 Advance Thai Reading, of 2013 – 2014 academic years. Research populations were Chinese students who enrolled the two courses in the stated academic years. The two sample groups in this research consist of a group of thirty three students specially selected and a conversational group of twenty students randomly chosen along with six Thai instructors who teach foreign students. The research found that Chinese students have difficulty writing Thai in the following aspects 1) Word level – wrong word choice, misspelling, absence of spaces, and wrong punctuations 2) Sentence level – grammatical errors, mixing spoken language with written language, and incomplete sentences 3) Paragraph level – lack of unity, coherence and theme, and incompletion of elements. From the discussion with the randomly selected students and Thai instructors, it is agreed that problems of Thai writing are caused by the lack of Thai grammatical knowledge and insufficient practice of language skill. The recommended solution is to provide a course of learning all four language skills and include grammar lessons in other subjects. In addition, Thai reading and writing activities should be promoted also.en
dc.language.isothen
dc.subjectมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ -- นักศึกษาen
dc.subjectHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts -- Studentsen
dc.subjectภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)en
dc.subjectThai language -- Study and teaching (Higher)en
dc.subjectภาษาไทย -- การเขียนen
dc.subjectThai language -- Writingen
dc.subjectนักศึกษาจีน -- ไทยen
dc.subjectChinese students -- Thailanden
dc.subjectภาษาไทย -- การใช้ภาษาen
dc.subjectThai language -- Usageen
dc.titleการใช้ภาษาไทยของนักศึกษาจีน : กรณีศึกษาปัญหาการเขียนของนักศึกษาจีน หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.title.alternativeThai Usage among Chinese Students : A Case Study of Chinese Students’ Thai Writing Problems, Master of Arts program in Communicative Thai as a Second Language, Huachiew Chalermprakiet Universityen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Liberal Arts - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
A-Case-Study-of-Chinese-Students-Thai-Writing-Problems.pdf96.26 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.