Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3462
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรพิมล กาญจนวาศ-
dc.contributor.authorอลิษา สุนทรวัฒน์-
dc.contributor.authorชวนพิศ จิระพงษ์-
dc.contributor.authorชัยรัตน์ เตชวุฒิพร-
dc.contributor.authorPornpimon Kanjanavas-
dc.contributor.authorAlisa Soontornwat-
dc.contributor.authorChaunpis Jirapong-
dc.contributor.authorChairat Techavuthiporn-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyen
dc.contributor.otherKing Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang. Faculty of Industrial Education and Technologyen
dc.date.accessioned2025-01-04T13:55:32Z-
dc.date.available2025-01-04T13:55:32Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3462-
dc.descriptionงานประชุมวิชาการระดับชาติ นนทรีอีสาน ครั้งที่ 8 “นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อคุณภาพชีวิตและสังคมที่ยั่งยืน (Innovation and Technology for Quality of Life and Sustainable Society) วันเสาร์ที่ 28 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุมระพีสาคริก อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร : หน้า 1181-1191en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://drive.google.com/file/d/1H8w50tDR0hMpCREnpkrv2ogFzOrUE4tP/viewen
dc.description.abstractจากการศึกษาผลของปริมาณของเกลือที่ใช้ในขั้นตอนการผลิตปลาสลิดแดดเดียวตั้งแต่ 0%, 3%, 5%, 7% และ 9% โดยวัดปริมาณเกลือภายหลังการแปรรูปมีค่าเท่ากับ 19-157 กรัมต่อตัวอย่าง 100 กรัม จากปริมาณเกลือที่ถูกใช้ในขั้นตอนการแปรรูปแบบวิธีของเกษตรกรสามารถจัดกลุ่มปลาสลิดแดดเดียวออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ปลาสลิดชนิดเค็มน้อย (เกลือน้อยกว่า 5%) และเค็มปานกลาง (เกลือ 5-10%) พบว่าการใช้เกลือปริมาณ 7% สามารถยับยั้งการเจริญของยีสต์และเชื้อราได้ดี และสามารถเก็บรักษาตัวอย่างในภาวะที่มีการปนเปื้อนของเชื้อเริ่มต้นในปริมาณที่สูงเกินกว่า 1X106 โคโลนีต่อกรัม ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ได้สูงสุดเป็นระยะเวลา 6 วัน โดยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงนอกจากนี้ภายหลังการทอดและทดสอบทางประสาทสัมผัสพบว่าปลาสลิดที่ใช้เกลือปริมาณ 7% มีคะแนนความชอบโดยรวมสูงกว่าเมื่อเทียบกับการใช้เกลือที่ปริมาณอื่นen
dc.description.abstractThe effect of salt solution (0%, 3%, 5%, 7% and 9%) representing as salinity for dried snakeskin fish production was studied. The final concentration of fish salinity was ranged between 19-157 g/100 g. From the point of application, dried snakeskin fish samples could be divided into two groups which was low salinity (<5% of salt solution) and moderate salinity (5-10% of salt solution). In addition, treated dried snakeskin fish samples with 7% salt solution could inhibit the growth of yeast and mold and prolong its shelf-life to 6 day during storage at 4 °C under bacterial contamination more than 1x106 CFU/g. Moreover, deep frying of treated sample with 7% salt solution showed higher score of preference test when compared with other treatments.en
dc.language.isothen
dc.rightsมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนครen
dc.subjectปลาสลิดแดดเดียวen
dc.subjectDry-salted snakeskin gouramien
dc.subjectความเค็มen
dc.subjectSalinityen
dc.subjectการถนอมอาหารen
dc.subjectFood -- Preservationen
dc.subjectคุณภาพทางประสาทสัมผัสen
dc.subjectOrganoleptic qualityen
dc.titleผลของปริมาณเกลือต่อคุณภาพของปลาสลิดแดดเดียวen
dc.title.alternativeEffect of Salt Solution on Quality of Dried Snakeskin Gouramien
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Science and Technology - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Effect-of-salt-solution-on-quality-of-dried-Snakeskin-gourami.pdf106.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.