Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3468
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นพาภรณ์ จันทร์ศรี | - |
dc.contributor.author | กนกพร นทีธนสมบัติ | - |
dc.contributor.author | ทวีศักดิ์ กสิผล | - |
dc.contributor.author | Napaporn Chansree | - |
dc.contributor.author | Kanokporn Nateetanasombat | - |
dc.contributor.author | Taweesak Kasiphol | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Master of Nursing | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-04T15:17:40Z | - |
dc.date.available | 2025-01-04T15:17:40Z | - |
dc.date.issued | 2020 | - |
dc.identifier.citation | ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 6,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563) : 58-68 | en |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3468 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/scihcu/article/view/243679/165278 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ โปรแกรมที่ใช้พัฒนามาจากแนวคิดการจัดการตนเองของแคนเฟอร์และแกลิค-บายส์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2 แห่ง ในเขตอำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 40 คน ที่ได้รับการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ร่วมกับการรักษาพยาบาลตามปกติ ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบได้รับการรักษาพยาบาลตามปกติเพียงอย่างเดียว เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพและโปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น และผ่านการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคอัลฟา มีค่าเท่ากับ .80 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติ t-test ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมสุขภาพ (Mean=2.52, SD=.173) มากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ (Mean=2.15, SD=.366) และมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (Mean=2.04, SD=.219) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ <.001(p-value <.000) ค่าเฉลี่ยความดันโลหิต ซีสโตลิคและค่าเฉลี่ยความดันโลหิตไดแอสโตลิคหลังทดลองต่ำกว่าก่อนทดลอง และต่ำกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ <.001(p-value <.000) | en |
dc.description.abstract | This research was a quasi-experimental research, which aimed to study the effects of self-management programs among uncontrolled hypertensive patients. The program was developed by the researcher based on the self-management concept of Kanfer & Gaelick-Buys. The sample was uncontrolled hypertensive patients, who had received the health services from two Health Promotion Hospitals, Bang Pa-in district Phra Nakhon Si Ayutthaya province. 40 persons were selected sample groups by a specific method, which were equally divided into the experimental group and the comparison group of 20 subjects. Each subject to a self-management program and the routine nursing care. While the comparison group received only the routine nursing care for an eight week period. The research instruments were the health behaviors questionnaires and the self-management program which were developed by the researcher and approved by three experts. The Cronbach Alpha coefficient was 0.80. Data was analyzed by descriptive statistics and t-test. The results of the study showed that after receiving the self-management program the experimental group had higher mean on health behavior score (Mean=2.52, SD=.173) than before receiving the program (Mean=2.15, SD=.366) and more than the comparison group (Mean=2.04, SD=.219) at statistically significant <.001 (p-value <.000). Mean of diastolic blood pressure level and mean of systolic blood pressure level after experiment were lower than before experiment and had lower than the comparison group at statistically significance <.001 (p-value <.000) | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพ | en |
dc.subject | Health behavior | en |
dc.subject | การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง | en |
dc.subject | Self-care, Health | en |
dc.subject | ความดันเลือดสูง -- ผู้ป่วย | en |
dc.subject | Hypertension -- Patients | en |
dc.title | ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ | en |
dc.title.alternative | The Effects of Self-Management Program among Uncontrolled Hypertensive Patients | en |
dc.type | Article | en |
Appears in Collections: | Nursing - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
The-effects-of-self-management-program-among-uncontrolled-hypertensive-patients.pdf | 86.34 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.