Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3469
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอุมารัตน์ ศิริจรูญวงศ์-
dc.contributor.authorพงษ์สิทธิ์ บุญรักษา-
dc.contributor.authorUmarat Sirijaroonwong-
dc.contributor.authorPongsit Boonruksa-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Healthen
dc.contributor.otherSuranaree University of Technology. Institute of Public Healthen
dc.date.accessioned2025-01-05T13:38:58Z-
dc.date.available2025-01-05T13:38:58Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.citationวารสารความปลอดภัยและสุขภาพ 11, 1 (มกราคม-เมษายน 2561) : 1-14.en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3469-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JSH/article/view/124968/94673en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบย้อนหลังเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของการประสบอันตรายขั้นหยุดงานเกิน 3 วันของพนักงาน 96 คนจากโรงงานอุตสาหกรรม 17 แห่งในจังหวัดสมุทรปราการ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ต้นไม้แห่งความล้มเหลว เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดมาตรการควบคุมและป้องกันอุบัติเหตุต่อไป วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาแสดงจำนวนและร้อยละของสาเหตุพื้นฐานที่ทำให้เกิดการประสบอันตรายขั้นหยุดงานเกิน 3 วัน ผลการศึกษาพบว่า การประสบอันตรายขั้นหยุดงานเกิน 3 วัน ส่วนใหญ่มาจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบริเวณกระบวนการผลิต ค่าเฉลี่ยของการหยุดงานเท่ากับ 16.8 วัน อุบัติเหตุส่วนใหญ่เกิดจากหลายสาเหตุพื้นฐานประกอบกัน ได้แก่ การกระทำที่ต่ำกว่ามาตรฐาน สภาพการณ์ที่ต่ำกว่ามาตรฐาน ปัจจัยเกี่ยวข้องกับงาน และปัจจัยเกี่ยวข้องกับคน ชุดสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุที่พบมากที่สุดคือการกระทำที่ต่ำกว่ามาตรฐาน สภาพการณ์ที่ต่ำกว่ามาตรฐานร่วมกับปัจจัยเกี่ยวข้องกับงาน (ร้อยละ 59.4) รองลงมาคือ การกระทำที่ต่ำกว่ามาตรฐานร่วมกับปัจจัยเกี่ยวข้องกับงาน (ร้อยละ 13.5) ซึ่งการทำงานด้วยความประมาท ไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนการทำงาน เป็นการกระทำที่ต่ำกว่ามาตรฐานที่พบมากที่สุด ขณะที่เครื่องมือ อุปกรณ์ชำรุด ไม่มีการ์ดป้องกัน ถูกพบมากที่สุดสำหรับสภาพการณ์ที่ต่ำกว่ามาตรฐาน นอกจากนั้น การขาดการอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยและการขาดความชำนาญในการทำงานซึ่งเป็นปัจจัยเกี่ยวกับงานและคนตามลำดับ ยังเป็นสาเหตุสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุ ดังนั้น การควบคุมและป้องกันการประสบอันตรายขั้นหยุดงานเกิน 3 วันอย่างมีประสิทธิภาพจึงควรต้องพิจารณาทั้ง 4 ปัจจัยดังกล่าวร่วมกัน ได้แก่ การกระทำที่ต่ำกว่ามาตรฐาน สภาพการณ์ที่ต่ำกว่ามาตรฐาน และปัจจัยเกี่ยวข้องกับงานและคนen
dc.description.abstractThis study was a retrospective study to analyze root causes of over 3-day injuries at work of 96 employees from 17 manufacturers in Samut Prakarn province. The accidents were analyzed using the fault tree analysis technique to find solutions to control and prevent them. Descriptive statistics were used to explain frequency and percentage of root causes of over 3-day injuries at work. The results of study showed that most of over 3-day injuries resulted from accidents occurring in production lines with an average of 16.8 working days off. Most accidents were caused by a combination of root causes: sub-standard act, sub-standard condition, job factor and personal factor. About 59.4% of all accidents resulted from the combination of Causal Analysis of Over 3-Day Injury at Work Using Fault Tree Analysis: A Case Study of 17 Manufacturers in Samut Prakarn Province sub-standard act, sub-standard condition and job factor, whereas 13.5% of them resulted from the combination of sub-standard act and job factor. Most of the sub-standard acts were working with carelessness and not following job instructions, whereas damaged machine, equipment and tool, and no safeguard were the highest percentage of sub-standard conditions. In addition, a lack of safety training (job factor) and lack of working skills (personal factor) were also important root causes of accidents. Therefore, sub-standard act, sub-standard condition, job and personal factors should be taken into account in control and preventive measures of over 3-day injury at work.en
dc.language.isothen
dc.subjectอาชีวอนามัยen
dc.subjectIndustrial hygieneen
dc.subjectการวิเคราะห์ความผิดพลาดแบบแผนภูมิต้นไม้en
dc.subjectFault Tree Analysisen
dc.subjectโรงงาน – ไทย – สมุทรปราการen
dc.subjectFactories – Thailand – Samut Prakarnen
dc.subjectโรงงาน – มาตรการความปลอดภัยen
dc.subjectFactories -- Safety measuresen
dc.subjectอุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรมen
dc.subjectIndustrial accidentsen
dc.subjectความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรมen
dc.subjectIndustrial safetyen
dc.titleการวิเคราะห์หาสาเหตุของการประสบอันตรายขั้นหยุดงานเกิน 3 วัน ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ต้นไม้แห่งความล้มเหลว: กรณีศึกษา 17 โรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดสมุทรปราการen
dc.title.alternativeCausal Analysis of Over 3-Day Injury at Work Using Fault Tree Analysis: A Case Study of 17 Manufacturers in Samut Prakarn Provinceen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Public and Environmental Health - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Causal-Analysis-of-Over-3-Day-Injury-at-Work-Using-Fault-Tree-Analysis.pdf93.63 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.