Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/350
Title: 佛统职业学院初级汉语教材对比研究----以《交际汉语》, 《交际汉语第一册(实用篇), 《汉语入门》为例
Other Titles: การเปรียบเทียบแบบเรียนภาษาจีนระดับต้นของวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม (หนังสือภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร) (หนังสือภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน) (หนังสือภาษาจีนพื้นฐาน)
Comparative Study of Chinese Textbooks in Nakhonpathom Vocational College : A Case of Chinese Communication, Chinese Communication (Practical Usage), Rudiment of Chinese Language
Authors: 唐七元
Tang, Qiyuan
王智
อรชา เทพจินดา
Keywords: วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม
汉语 -- 学习和教学 -- 泰国
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน -- ไทย
Chinese language -- Study and Teaching -- Thailand
汉语 -- 对外教科书
ภาษาจีน -- ตำราสำหรับชนต่างชาติ
Chinese language -- Conversation and phrase books
ภาษาจีน -- ไวยากรณ์
汉语 -- 语法
ภาษาจีน -- แบบเรียน
汉语 -- 教科书
Issue Date: 2019
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: 摘 要汉语教学中, 教材建设很重要. 教材的质量影响初级阶段学生学习汉语的积极性. 随着"汉语热"在泰国的蓬勃发展, 汉语的教学在泰国发展十分迅速. 由于并不是所有学校都开设汉语课, 泰国教育部对于汉语教学也没有统一规划和制定统一的教学大纲. 本文以泰国职业学校使用的具有代表性的初级汉语教材:《交际汉语》, 《交际汉语第一册》(实用篇)和《汉语入门》为例, 进行教材对比研究. 从课文, 生词, 语法, 练习, 汉字, 文化等方面, 总结它们的优点和不足. 另外也对泰国学生和汉语教师进行了问卷调查, 研究了他们对汉语教材的需求和对教材内容的评价, 希望为泰国汉语教材的编写提供一定的参考, 促进泰国对外汉语教材的建设. 在三本教材的课文对比分析中, 本文将会通过或对比《交际汉语》, 《交际汉语第一册》(实用篇)和《汉语入门》的题材, 题材以及编排形式, 分析三套教材在课文编写方面的异同点. 在教材生词部分, 本文将会对三套教材的生词数量, 生词等级和生词的注释进行比较分析. 关于语法点的对比分析部分, 本文将从语法点的数量和语法点的编排方式两个方面分析三套教材语法部分的不同. 有关习题的分析对比, 本文将从习题量和题型两个方面对教材进行比较. 总而言之, 本文将对分析的结果及教材各自特点提出编写建议, 并结合问卷调查的结果和实践说明建议的合理性. 希望能够对今后教材的编写提供一定的帮助, 让更多的泰国学生喜欢上学习汉语.
ในการเรียนการสอนวิชาภาษาจีนนั้น การสร้างสื่อการสอนถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก หนังสือเรียนจึงมีส่วนสำคัญที่ส่งผลต่อความสนใจของผู้เรียน การเรียนภาษาจีนเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นในประเทศไทย และมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว มีการเรียนวิชาภาษาจีนในระดับมัธยมศึกษาและระดับวิทยาลัย เนื่องจากมีการเรียนการสอนวิชาภาษาจีนในบางวิทยาลัยเท่านั้น หนังสือเรียนจึงยังไม่ค่อยมีความหลากหลาย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการเปรียบเทียบและวิเคราะห์หนังสือเรียนภาษาจีนเบื้องต้น 3 เล่ม ได้แก่ หนังสือภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร หนังสือภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (ในชีวิตประจำวัน) และหนังสือพื้นฐานภาษาจีน ที่ใช้ในการเรียนการสอนของวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม ซึ่งการเปรียบเทียบจะมุ่งเน้นไปที่เนื้อหาของบทเรียน ตัวอักษรภาษาจีน จำนวนคำศัพท์ ความยากง่ายของระดับคำศัพท์ ไวยากรณ์ รูปแบบของแบบฝึกหัดประจำบทเรียน รวมถึงเกร็ดวัฒนธรรมของประเทศจีน วัตถุประสงค์เพื่อหาจุดแข็งและจุดอ่อนของหนังสือแต่ละเล่ม และสำรวจความพึงพอใจของผู้เรียนโดยการจัดทำแบบสอบถามเพื่อนำมาวิเคราะห์ถึงปัญหา และความต้องการของผู้เรียน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งหวังที่จะเปรียบเทียบหนังสือเรียนภาษาจีนเพื่อการสื่อสารของวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม เพื่อให้สามารถเห็นข้อแตกต่าง และความเหมาะสมของหนังสือเรียนภาษาจีนสำหรับผู้เรียนในรายวิชาภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร
Chinese learning has become increasingly popular in Thailand. Because of not all of the school has Chinese lesson, there is no proper control from the Thai Ministry of Education. Many textbooks are being used in the schools but no standards have been formulated. Teaching Chinese well in Thailand needs not only good teachers, but also good textbooks which suit the Thai students. This thesis compares and analyzes three primary Chinese textbooks, Chinese Communication, Chinese Communication (practical usage), rudiments of Chinese language in vocational college in Thailand. The comparison focuses on the content, on the teaching of Chinese characters, vocabulary, grammar, exercise design and Chinese culture to find out the strengths and weakness of each textbook. Questionnaires are used for Thai students to know their need of textbooks and expectation of Chinese learning content and teaching methods. This study aims to provide implications for Chinese textbook complication in Thailand and to offer some suggestions in writing and redacting Chinese textbooks in Thailand so that better Chinese textbooks will be compiled for the users in Thailand.
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2019
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/350
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ORACHA-TEPJINDA.pdf4.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.