Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3523
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุวรรณา เสมศรี-
dc.contributor.authorวิชาญ จันทร์วิทยานุชิต-
dc.contributor.authorธนสาร ศิริรัตน์-
dc.contributor.authorประไพ เหมหอม-
dc.contributor.authorสุรีย์พร หอมวิเศษวงศา-
dc.contributor.authorอํานาจ ธราธรพุฒิปัญญา-
dc.contributor.authorSuwanna Semsri-
dc.contributor.authorWicharn Janwitayanuchit-
dc.contributor.authorTanasan Sirirat-
dc.contributor.authorPrapai Hemhorm-
dc.contributor.authorSureeporn Homvisasevongsa-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technologyen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciencesen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technologyen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technologyen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technologyen
dc.contributor.otherBang Sao Thong Hospitalen
dc.date.accessioned2025-01-15T10:07:28Z-
dc.date.available2025-01-15T10:07:28Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3523-
dc.descriptionรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรําไพพรรณี ครั้งที่ 14 เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้ารําไพพรรณี ครบ 116 ปี “วิจัยนวัตกรรม สร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมอย่างยั่งยืน” วันที่ 18 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จังหวัดจันทบุรี : หน้า 332-339.en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://proceeding.rbru.ac.th/Proceeding/2563(no.14)_proceedings_full.pdfen
dc.description.abstractปัจจุบันผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติถูกนํามาใช้เป็นทางเลือกในการรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว วัตถุประสงค์ของการ วิจัยนี้คือการศึกษาถึงตัวทําละลายที่สามารถสกัดสารต้านมะเร็งจากสารสกัดหยาบมะรุม ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งเม็ด เลือดขาวเพาะเลี้ยงชนิด K562 ถูกศึกษาโดยวิธีเอ็มทีที ข้อมูลถูกนํามาวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้ One-way ANOVA จาก โปรแกรม SPSS จากการศึกษาพบว่าสารสกัดหยาบใบมะรุมแยกส่วนที่สกัดด้วยตัวทําละลายชนิดไดคลอโรมีเทน แสดงฤทธิ์ ความเป็นพิษ (IC50) ต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวเพาะเลี้ยงชนิด K562 ที่ร้อยละ 50 ได้ดีที่สุด เมื่อทําการเปรียบเทียบความ เป็นพิษของสารสกัดที่สกัดด้วยตัวทําละลายชนิดเฮกเซน เอทิลอะซิเตท บิวทานอล และ น้ํา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p1000 และ >1000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลําดับ จากนั้นได้นํา สารสกัดหยาบใบมะรุมแยกส่วนไดคลอโรมีเทนไปทําให้บริสุทธิ์ด้วยการนําไปผ่าน silica gel column chromatography โดยใช้เอกเซนต่อแอทิลอะซิเตรท (9:1) ได้ทั้งหมด 11 ส่วน คือ A1, B172-196, C102-119, J291-297, K298-313, M130-147, N148-157, O158-169, Q 231-239, R240-246 และ S247-270 โดยพบว่าสารสกัด J291-297, M130-147 และ N148-157 แสดงฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยงชนิด K562 ที่ความเข้มข้นเท่ากับ 21.3 ± 2.08, 91.1 ± 6.83 และ 129.8 ± 7.68 ไมโครกรัมต่อมิลลิเมตร ตามลำดับen
dc.description.abstractNowadays, natural products can be used as alternative treatments for leukemia. The objective of this research was to study a solvent that can extract anticancer agents from Moringa oleifera Lam. The toxicity of the extracts to K562 leukemia cells was then examined by MTT method. The expression of WT1 protein was performed by Western Blot method. The data was analyzed by One-way ANOVA using the SPSS software. The results showed that the dichloromethane fraction was significantly toxic (IC50) to the K562 cell line when compared with hexane, ethylacetate, butanol, and water fraction (p 1 0 00 and > 1 0 0 0 μg/mL, respectively. The dicholoromethane fraction was then separated by silica gel column chromatography by Hexane and Ethyl acetate (9:1) resulting in eleven compounds; A1, B172-196, C102-119, J291-297, K298-313, M130- 147, N148-157, O158-169, Q231-239, R240-246 and S247-270. The J291-297, M130-147 and N148-157 compounds exhibited a cytotoxic activity against the K562 cell line at the concentration of 21.3 ± 2.08, 91.1 ± 6.83 and 129.8 ± 7.68 μg/mL, respectively.en
dc.language.isothen
dc.rightsมหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี. สถาบันวิจัยและพัฒนาen
dc.subjectพิษวิทยาen
dc.subjectToxicologyen
dc.subjectมะเร็งเม็ดเลือดขาวen
dc.subjectLeukemiaen
dc.subjectสารต้านมะเร็งen
dc.subjectยารักษามะเร็งen
dc.subjectAntineoplastic agentsen
dc.subjectมะรุมen
dc.subjectMoringa oleiferaen
dc.subjectความเป็นพิษต่อเซลล์en
dc.subjectCell-mediated cytotoxicityen
dc.titleความเป็นพิษของสารสกัดหยาบแยกส่วนไดคลอโรมีเทนมะรุมต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว K562en
dc.title.alternativeCytotoxicity of Moringa oleifera Lam. Dichloromethane Fraction on K562 cell Lineen
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Medical Technology - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cytotoxicity-of-Moringa-oleifera-Lam.pdf96.24 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.