Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3530
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชนิกา เจริญจิตต์กุล | - |
dc.contributor.author | ชฎาภา ประเสริฐทรง | - |
dc.contributor.author | Chanika Jaroenjitkul | - |
dc.contributor.author | Chadapa Prasertsong | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-18T04:01:15Z | - |
dc.date.available | 2025-01-18T04:01:15Z | - |
dc.date.issued | 2014 | - |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลทหารบก ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 (ก.ย. - ธ.ค.) 2557 | en |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3530 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/30476/26289 | en |
dc.description.abstract | บุหรี่ไฟฟ้าหรือบุหรี่อิเล็กทรอนิกส์เป็นภัยเงียบที่สำคัญในปัจจุบันของวัยรุ่นจากกลยุทธ์ทางการตลาด เช่น การโฆษณาที่สร้างให้เชื่อว่าการสูบบุหรี่ไฟฟ้าไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพเพราะไม่มีใบยาสูบ อีกทั้งยังสร้างภาพของผู้สูบว่าเป็นคนทันสมัยแต่ในความเป็นจริงกลับพบว่าบุหรี่ไฟฟ้ามีนิโคตินผสมอยู่ในปริมาณมากและสามารถนำเข้าสู่ร่างกายผู้สูบได้มากกว่าการสูบบุหรี่ธรรมดาถึง 5 - 9 เท่า ขึ้นอยู่กับปริมาณนิโคตินที่มีอยู่ในบุหรี่ไฟฟ้า จึงกล่าวได้ว่านิโคตินที่มีปริมาณมากกว่าบุหรี่ธรรมดาย่อมทำอันตรายต่อสุขภาพของผู้สูบได้มากกว่าเช่นกัน พยาบาลวิชาชีพจึงควรรู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด และผลกระทบต่อสุขภาพของบุหรี่ไฟฟ้า รวมทั้งสามารถแสดงบทบาทในด้านการส่งเสริมและการป้องกันวัยรุ่น ให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ปลอดภัยจากการเป็นนักสูบหน้าใหม่ ส่วนด้านการรักษาพยาบาล พยาบาลควรมีความรู้ความสามารถในการบำบัดผู้สูบ เช่น โปรแกรมการบำบัดแบบพฤติกรรมการรู้คิด เป็นต้น และด้านการฟื้นฟูผู้สูบให้สามารถเลิกสูบบุหรี่ไฟฟ้าได้อย่างถาวร | en |
dc.description.abstract | E-cigarette, known as electronic cigarette is one of the most silent dangers to our youths nowadays. With the assistance of marketing techniques such as advertisements, its effectively convinces the youths to believe that e-cigarette is safe, without tobacco, trendy and stylish to smoke. It, however, has been discovered that the Nicotine substance in e-cigarette is five to nine times more intensive compared to cigarette in general. It is convincible to believe that the more Nicotine substance contains, the more danger our health absorbs. Therefore, it is significantly essential for Register nurses to be keen on those marketing techniques and be knowledgeable about the harmful impact of e-cigarette on our health. The role of RN has to support and protect the youths from being a new smoker and to heal the existing smokers to quit smoking permanently. In long-terms solution, RN should be knowledgeable both theoretically and practically about the treatment programs such as Cognitive Behavior therapy program (CBT). | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.subject | บุหรี่ไฟฟ้า | en |
dc.subject | Electronic cigarettes | en |
dc.subject | การสูบบุหรี่ไฟฟ้า | en |
dc.subject | Vaping | en |
dc.subject | บุหรี่ไฟฟ้า – ผลกระทบทางสรีรวิทยา | en |
dc.subject | Electronic cigarettes -- Physiological effect | en |
dc.title | บุหรี่ไฟฟ้า : ภัยเงียบของวัยรุ่น | en |
dc.title.alternative | E-cigarette: Silent Dangers to Youth | en |
dc.type | Article | en |
Appears in Collections: | Nursing - Artical Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Silent-Dangers-to-Youth.pdf | 89.8 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.