Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3671
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอิสรี รอดทัศนา-
dc.contributor.authorเทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์-
dc.contributor.authorสุชาดา ยางเอน-
dc.contributor.authorIsaree Rodtusana-
dc.contributor.authorThirdpong Srisukphun-
dc.contributor.authorSuchada Yangen-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Healthen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Healthen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Healthen
dc.date.accessioned2025-02-15T02:23:49Z-
dc.date.available2025-02-15T02:23:49Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3671-
dc.descriptionการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 6 "การวิจัยและนวัตกรรมในยุคดิจิทัลสู่ความยั่งยืน" วันที่ 6 กันยายน 2566 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา : หน้า 671-683.en
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/5-01/article/view/161/246en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาระมลพิษทางน้ำในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราโดยจำแนกตามประเภทของแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ได้แก่ ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม การปศุสัตว์ และพื้นที่เพาะปลูก ผลการศึกษา พบว่า ในปี พ.ศ.2556 จังหวัดฉะเชิงเทรามีปริมาณน้ำเสียเกิดขึ้นเท่ากับ 2,080,293 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน คิดเป็นภาระมลพิษรวมเท่ากับ 106,467 กิโลกรัมต่อวัน โดยอำเภอที่มีภาระมลพิษทางน้ำสูงสุด ได้แก่ อำเภอพนมสารคาม รองลงมา คือ อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา และ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว คิดเป็นปริมาณภาระมลพิษเท่ากับ 29,790, 17,142 และ 16,456 กิโลกรัมต่อวัน ตามลำดับ ทั้งนี้พบว่าภาระมลพิษส่วนใหญ่ในจังหวัดฉะเชิงเทรามาจากแหล่งกำเนิดประเภทการปศุสัตว์ รองลงมาคือ แหล่งกำเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม และ ชุมชน คิดเป็นภาระมลพิษเท่ากับ 62,767 , 16,048และ 14,892 กิโลกรัมต่อวัน หรือคิดเป็นร้อยละ 58.95, 15.07 และ 13.98 ของปริมาณภาระมลพิษทั้งหมด ตามลำดับ ซึ่งจากผลการศึกษาสามารถนำไปใช้ในการประเมินพื้นที่วิกฤตด้านปัญหามลพิษทางน้ำ และนำไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนเพื่อลดภาระมลพิษจากแหล่งกำเนิดที่เหมาะสมกับพื้นที่ในแต่ละอำเภอในจังหวัดฉะเชิงเทราต่อไปen
dc.description.abstractThe objective of this research is to study the pollutant load in Chachoengsao province from various sources including household, industries, livestock and agriculture. The results showed that in 2556, amount of wastewater in Chachoengsao was 2,989,293 m3/d and total pollutant load was 106,467 kg/d. The top three districts produced pollutant loads of 29,790, 17,142 and 16,456 kg/d, were Phanom Sarakham, Mueang Chachoengsao and Bang Nam Priao, respectively. The sources of wastewater, livestock, industries and household, caused huge pollutant loas of 62,767, 16,048 and 14,892 kg/d, which was contributed to 58.95%, 15.07% and 13.98%, respectively. These results can be used for prioritization of critical area on water pollutant and for planning of wastewater management for each district in Chachoengsao Province.en
dc.language.isothen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectคุณภาพน้ำ – ไทย – ฉะเชิงเทราen
dc.subjectWater quality – Thailand -- Chachoengsaoen
dc.subjectมลพิษทางน้ำ – ไทย – ฉะเชิงเทราen
dc.subjectWater – Pollution -- Thailand -- Chachoengsaoen
dc.subjectภาระมลพิษen
dc.subjectPollutant loadsen
dc.subjectน้ำเสีย – ไทย – ฉะเชิงเทราen
dc.subjectSewage -- Thailand -- Chachoengsaoen
dc.titleการประเมินภาระมลพิษทางน้ำในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราen
dc.title.alternativePollutant Load Assessment in Chachoengsao Provinceen
dc.typeProceeding Documenten
Appears in Collections:Public and Environmental Health - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pollutant-Load-Assessment-in-Chachoengsao-Province.pdf85.71 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.