Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/386
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ กสิผล-
dc.contributor.advisorจริยาวัตร คมพยัคฆ์-
dc.contributor.advisorTaweesak Kasiphol-
dc.contributor.advisorJariyawat Kompayak-
dc.contributor.authorพงศยา ตราชูนิตย์-
dc.contributor.authorPongsaya Trachunit-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2022-06-06T13:02:59Z-
dc.date.available2022-06-06T13:02:59Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/386-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2561th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจเพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมเสี่ยงการติดอินเทอร์เน็ตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สำกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 401 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป ความง่ายต่อการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต สัมพันธภาพในครอบครัว และพฤติกรรมเสี่ยงการติดอินเทอร์เน็ตที่ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และหาค่าความเชื่อมั่นได้เท่ากับ 0.926 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ปัจจัยทำนายเชิงถดถอยแบบพหุคุณด้วยวิธี Stepwise ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีพฤติกรรมเสี่ยงการติดอินเทอร์เน็ต โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ร้อยละ 66.1 และพบว่า ปัจจัยที่ทำนายพฤติกรรมเสี่ยงการติดอินเทอร์เน็ตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ระยะเวลาที่ใช้งานอินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์ (β=0.289, p<0.05) สามารถอธิบายการแปรผันของพฤติกรรมเสี่ยงการติดอินเทอร์เน็ตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร ได้ร้อยละ 8.3 ([R-Square] = 0.083) ข้อเสนอแนะ ควรนำปัจจัยที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ คือ ระยะเวลาที่ใช้งานอินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์วางแผนหรือสร้างแนวทางป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงการติดอินเทอร์เน็ต และควรมีการศึกษาวิจัยในบริบทที่แตกต่างกัน หรือรูปแบบการวิจัยที่แตกต่างกันออกไปth
dc.description.abstractThis research is a survey research. The purpose of this study was to determine the predictore of risk behavior for internet addiction among grade 10 students of the secondary educational service area office 2, Bangkok. The samples were composed of 401 grade 10 students of the secondary educational service area office 2, Bangkok. Data were collected by using Personal Data Questionnaire, Internet Access Questionnaire, Family Relationship Questionnaire and Internet Addiction Test (IAT). Data were analyzed by using descriptive statistics, Person's Product Movement Correlation and Multiple Regression by Stepwise Method. The result showed that the risk behavior for internet addiction was low (66.1%) and the factor that significantly and determine the predictors of risk behavior for internt addiction was the weekly duration of internet the predictors of risk behavior for internet addiction was the weekly duration of internet use (β=0.289, p<0.05) and could explain 10 students of the secondary educational service area office 2, Bangkok. Based on the results, Planning and Guideline for the weekly duration of internet use for prevent internet addiction. The further research should be conducted in different contexts or other factors.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯth
dc.subjectHigh school students -- Thailand -- Bangkokth
dc.subjectInternet addictionth
dc.subjectโรคติดอินเทอร์เน็ตth
dc.subjectอินเทอร์เน็ตth
dc.subjectInternetth
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมเสี่ยงการติดอินเทอร์เน็ตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานครth
dc.title.alternativePredictors of Risk Behavior for Internet Addiction among Grade 10 Students of the Secondary Educational Service Area Office 2, Bangkokth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนth
Appears in Collections:Nursing - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PONGSAYA-TRACHUNIT.pdf
  Restricted Access
4.55 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.