Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3887
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิตติพงษ์ พุ่มพวง-
dc.contributor.authorพัชรินทร์ บูรณะกร-
dc.contributor.authorKittipong Phumpuang-
dc.contributor.authorPatcharin Buranakorn-
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2025-05-22T13:07:51Z-
dc.date.available2025-05-22T13:07:51Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3887-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสื่อวิทยุโทรทัศน์ด้านการสื่อสารเพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก และเพื่อนำสื่อวิทยุโทรทัศน์ด้านการสื่อสารเพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ไปเผยแพร่แก่เยาวชน ผลการวิจัยพบว่า ตอนที่ 1 การพัฒนาสื่อวิทยุโทรทัศน์ด้านการสื่อสารเพื่อการใช้ประโยชน์จากการวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก การนำงานวิจัยของ สกว. 2 เรื่อง ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก มาเป็นเนื้อหาสำคัญในการสร้างสื่อวิทยุโทรทัศน์ โดยกำหนดสื่อวิทยุโทรทัศน์ออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอน 1 อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ตอน 2 วิถีชีวิตที่ยั่งยืนตามรอยปราชญ์แห่งแผ่นดิน (วิถีชีวิตเกษตรพอเพียงหมู่บ้านร่องกล้า) ตอน 3 วัฒนธรรมม้ง หมู่บ้านร่องกล้า ตอน 4 วิถีชีวิตบ้านห้วยน้ำไซ (การอยู่ร่วมกันของชาวม้ง หมู่ 15, 16 และชาวไทย หมู่ 17) ค่าเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพสื่อวิทยุโทรทัศน์ของทั้ง 4 ตอน อยู่ในระดับมาก (4.14) ตอนที่ 2 การนำสื่อวิทยุโทรทัศน์ด้านการสื่อสารเพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ไปเผยแพร่แก่เยาวชน กลุ่มที่ 1 เยาวชนในพื้นที่อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนพื้นที่ ตำบลเนินเพิ่ม อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโก จำนวน 3 โรงเรียน สรุปผลประเมินการรับรู้อยู่ในระดับมากที่สุด (4.53) กลุ่มที่ 2 เยาวชนนอกพื้นที่อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 3 โรงเรียน สรุปผลประเมินการรับรู้อยู่ในระดับมากที่สุด (4.51) กลุ่มที่ 3 เยาวชนชาวต่างชาติที่เข้ามาศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย ได้แก่ นักศึกษาชาวจีนที่เข้ามาศึกษาหลักสูตรภาษาไทยในประเทศไทย จำนวน 3 แห่ง สรุปผลประเมินการรับรู้อยู่ในระดับมากที่สุด (4.53) ตอนที่ 3 การเผยแพร่การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยสู่สาธารณชนในวงกว้าง ได้แก่ กลุ่มหน่วยงานในพื้นที่และท้องถิ่น เช่น อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า บ้านใหม่ร่องกล้า กลุ่มสื่อสารมวลชน เช่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดพิษณุโลก สถานีวิทยุโทรทัศน์ช่อง 11 จังหวัดพิษณุโลก ฯลฯ กลุ่มเครือข่ายวิชาการ เช่น สถานอารยธรรมศึกษาโขงมหาวิทยาลัย สาลวินนเรศวร และสื่อสังคมออนไลน์en
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ; สัญญาเลขที่ RUG59A0005en
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)en
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- ไทย -- พิษณุโลกen
dc.subjectHeritage tourism -- Thailand -- Pitsanuloken
dc.subjectสื่อมวลชนกับการเผยแพร่ข่าวสารen
dc.subjectMass media and publicityen
dc.subjectนครไทย (พิษณุโลก)en
dc.subjectNakhonthai (Pitsanulok)en
dc.subjectโทรทัศน์ในโฆษณาชวนเชื่อen
dc.subjectTelevision in propagandaen
dc.titleการพัฒนาสื่อวิทยุโทรทัศน์เพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ออำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลกen
dc.title.alternativeรายงานการวิจัย โครงการวิจัย “การพัฒนาสื่อวิทยุโทรทัศน์เพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ออำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก”en
dc.title.alternativeโครงการวิจัย “การพัฒนาสื่อวิทยุโทรทัศน์เพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ออำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก”en
dc.typeTechnical Reporten
Appears in Collections:Liberal Arts - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kittipong-Phumpuang.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.