Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4132
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุภาณี ชวนเชย | - |
dc.contributor.author | ปัณฑิตา เชตประพันธ์ | - |
dc.contributor.author | บงกชกร สวาสุด | - |
dc.contributor.author | นันทัชพร ริดจันทร์ | - |
dc.contributor.author | นภัสวรรณ กันกา | - |
dc.contributor.author | ณิทชาภา มณีฤทธิ์ | - |
dc.contributor.author | Supanee Chounchay | - |
dc.contributor.author | Pandita Chetpraphan | - |
dc.contributor.author | Bongkotchakorn Swasud | - |
dc.contributor.author | Nantachaporn Ridchan | - |
dc.contributor.author | Napatsawan Kunka | - |
dc.contributor.author | Nitchapa Maneerit | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprekiet University. Faculty of Physical Therapy | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprekiet University. Faculty of Physical Therapy. Undergraduate Student | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprekiet University. Faculty of Physical Therapy. Undergraduate Student | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprekiet University. Faculty of Physical Therapy. Undergraduate Student | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprekiet University. Faculty of Physical Therapy. Undergraduate Student | en |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprekiet University. Faculty of Physical Therapy. Undergraduate Student | en |
dc.date.accessioned | 2025-06-24T11:52:18Z | - |
dc.date.available | 2025-06-24T11:52:18Z | - |
dc.date.issued | 2024 | - |
dc.identifier.citation | วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะ 28, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2567) : 111-120. | en |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4132 | - |
dc.description | สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/265576/185265 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพจิตด้านความซึมเศร้า ความวิตกกังวล และความเครียดจากการเรียนออนไลน์ในสถานการณ์โควิด-19 และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความจําเพื่อใช้งานกับภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษากายภาพบําบัดชั้นปีสุดท้าย จํานวน 68 คน อายุ 22.60±0.10 ปี ได้รับการทดสอบความจําเพื่อใช้งานด้วย Digit span และทําแบบประเมินตนเองเพื่อประเมินภาวะสุขภาพจิตด้านความซึมเศร้า ความวิตกกังวล และความเครียด (Depression anxiety stress scales; DASS-21) เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และหาค่าความสัมพันธ์ด้วยสถิติสหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน (Spearman’s correlation coefficient)ผลการวิจัยพบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยมีระดับความซึมเศร้า ความวิตกกังวล และความเครียดอยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 75.00, 69.10 และ 91.20จากร้อยละของผู้เข้าร่วมงานวิจัยทั้งหมด และพบความวิตกกังวลระดับเล็กน้อยถึงระดับรุนแรงมาก ร้อยละ 30.90 ตามด้วยความซึมเศร้าและความเครียดระดับเล็กน้อยถึงระดับรุนแรงร้อยละ 25.00และ 8.80โดยความจําเพื่อใช้งานของผู้เข้าร่วมวิจัยอยู่ในช่วงเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 78.71 ± 12.83ซึ่งไม่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติระหว่างความจําเพื่อใช้งานกับความซึมเศร้า(p=0.64) ความวิตกกังวล (p=0.85) และความเครียด (p=0.55)ถึงแม้ว่านักศึกษากายภาพบําบัดชั้นปีสุดท้ายส่วนใหญ่จะมีสุขภาพจิตอยู่ในระดับปกติ แต่นักศึกษาบางรายต้องประสบกับปัญหาสุขภาพจิต จึงควรตระหนักถึงปัญหานี้เพื่อเฝ้าระวังได้อย่างทันท่วงทีและใช้เป็นข้อมูลเพื่อคํานึงถึงการเลือกรูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสม | en |
dc.description.abstract | The objective of the study was to explore the problems of mental health including depression, anxiety, and stress among senior physical therapy students during online learning in the Covid-19 situation. In addition, the correlation between working memory and mental health was to be determined. The sixty-eight participants were senior physical therapy students aged 22.60± 0.10 years old. The digit span test was used to assess working memory. Also, the depression anxiety stress scale(DASS-21) was used to measure the mental health of all participants. All data were analyzed using a descriptive statistic, and correlation was identified by Spearman’s correlation coefficient. The study reported normal levels of mental health state in depression, anxiety, and stress at 75.00%, 69.10% and91.20% of all participants respectively. Moreover, the results found anxiety from mild to extremely severe level at 30.90%of all participants followed by depression and stress from mild to severe level at 25.00% and8.80%. The percentile of working memory of all participants was78.71± 12.83. However, the working memory was not significantly different among various levels of anxiety (p=0.85), depression (p=0.64), and stress (p=0.55). Although most senior physical therapy students had a normal level of mental health. there were a few students who suffered from a mental health problem. Therefore, you should be aware of this problem to watch out for it in a timely manner. | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.subject | นักศึกษากายภาพบำบัด | en |
dc.subject | Physical therapy students | en |
dc.subject | สุขภาพจิต | en |
dc.subject | Mental health | en |
dc.subject | ความเครียด (จิตวิทยา) | en |
dc.subject | Stress (Psychology) | en |
dc.subject | ความจำ | en |
dc.subject | Memory | en |
dc.subject | ความซึมเศร้า | en |
dc.subject | Depression, Mental | en |
dc.subject | ความวิตกกังวล | en |
dc.subject | Anxiety | en |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) | en |
dc.subject | COVID-19 (Disease) | en |
dc.subject | การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- | en |
dc.subject | COVID-19 Pandemic, 2020- | en |
dc.subject | การเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ | en |
dc.subject | การเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ | en |
dc.subject | การเรียนการสอนผ่านเว็บ | en |
dc.subject | Web-based instruction | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความจําเพื่อใช้งานและภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษากายภาพบําบัดระหว่างการเรียนออนไลน์ในสถานการณ์โควิด-19 | en |
dc.title.alternative | Correlation between working memory and mental health of the senior physical therapy students during online learning in the Covid-19 situation | en |
dc.type | Article | en |
Appears in Collections: | Physical Therapy - Articles Journals |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Correlation-between-working-memory-and-mental-health .pdf | 92.48 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.