Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลั่นทม จอนจวบทรง-
dc.contributor.authorมาริสสา อินทรเกิด-
dc.contributor.authorณธภร ธรรมบุญวริศ-
dc.contributor.authorLanthom Jonjuabtong-
dc.contributor.authorMarisa Intharakoed-
dc.contributor.authorNataporn Thammabunwarit-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationen
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administrationen
dc.date.accessioned2025-07-05T12:03:50Z-
dc.date.available2025-07-05T12:03:50Z-
dc.date.issued2024-
dc.identifier.citationวารสารบริหารธุรกิจและการจัดการปริทัศน์ 16, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2567) : 295-313.en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4270-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/272657/178454en
dc.description.abstractวิสาหกิจชุมชนส่วนมากยังมีปัญหาในการทำธุรกิจออนไลน์ ในขณะที่ผู้บริโภคในปัจจุบันดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ แบบออนไลน์ เนื่องจากวิสาหกิจชุมชนมีข้อจำกัดในปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี องค์กรแบบดิจิทัล และสภาพแวดล้อมทางธุรกิจดิจิทัล การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินการธุรกิจของวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารในจังหวัดสมุทรปราการในปัจจุบัน ปัจจัยส่งเสริมการดำเนินการธุรกิจดิจิทัลของวิสาหกิจชุมชนฯ และนำเสนอแนวทางการพัฒนาธรุกิจดิจิทัลของวิสาหกิจชุมชนฯ การศึกษาใช้กรณีตัวอย่าง 3 วิสาหกิจชุมชน มีผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสิ้น 17 คน จากสมาชิกทั้งหมด 44 คน เป็นผู้บริหารวิสาหกิจละ 1 คน และตัวแทนวิสาหกิจละ 3-4 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างตามวัตถุประสงค์ จัดเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก สัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและการสังเกตการณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นแบบการจัดหมวดหมู่ การศึกษาพบว่า มี 2 วิสาหกิจ ดำเนินการจำหน่ายสินค้าออนไลน์ และทั้ง 3 วิสาหกิจมีการทำการตลาดเชิงเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ทั้ง 3 วิสาหกิจ มีข้อจำกัดในปัจจัยส่งเสริมการดำเนินธุรกิจดิจิทัลตามกรอบ TOE (Technology, organization and environment) การศึกษานี้ได้นำเสนอแนวทางการพัฒนาธุรกิจดิจิทัลสำหรับวิสาหกิจชุมชนโดยมี 4 องค์ประกอบ ได้แก่องค์กรจะมุ่งเน้นที่วัฒนธรรมดิจิทัล รูปแบบดิจิทัล สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีen
dc.description.abstractCommunity enterprises have lacked of digital business skills, meanwhile customers prefer to conduct any activities online. This is because most community enterprises lack of digital business supporting factors—technologies, digital organizational and environment. The objectives of this study were to study current business of food processing community enterprises in Samutprakan province, to discover influence factors to digital business of community Enterprises and to propose digital business development framework for community enterprises. The study was qualitative research with three food processing community enterprises as cases study. There were 17 key informants who were 3 committee members and 3-4 member of the enterprises. Data were collected with in-depth interviews, structure interview and observation, and analysed with classification to theme. The study found that there were 2 enterprises sold products online and all enterprises had content marketing through media. They all had limited influenceen
dc.language.isothen
dc.subjectวิสาหกิจชุมชน -- ไทย -- สมุทรปราการen
dc.subjectCommunity enterprises -- Thailand -- Samut Prakanen
dc.subjectอาหารแปรรูปen
dc.subjectProcessed foodsen
dc.subjectการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์en
dc.subjectElectronic commerceen
dc.subjectธุรกิจดิจัทัลen
dc.subjectDigital businessen
dc.titleแนวทางการพัฒนาธุรกิจดิจิทัลของวิสาหกิจชุมชน: กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารในจังหวัดสมุทรปราการen
dc.title.alternativeDigital Business Development Guidelines for Community Enterprises: A Case Study of Food Processing Community Enterprises in Samutprakan Provinceen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Business Administration - Articles Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Digital-Business-Development-Guidelines-for-Community-Enterprises.pdf94.58 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.