Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4314
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิไล ธรรมวาจา-
dc.contributor.authorWilai Thamvaja-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Artsen
dc.date.accessioned2025-07-17T13:53:05Z-
dc.date.available2025-07-17T13:53:05Z-
dc.date.issued2024-
dc.identifier.citationวารสารศิลปศาสตร์วิชาการและวิจัย19,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2567) : 1-19en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4314-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/272856/185876en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการเรียน วิธีการปรับตัว และกระบวนการปรับตัวในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาแลกเปลี่ยนชาวจีน ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง คือ นักศึกษาจีนในโครงการแลกเปลี่ยนจีน-ไทย รุ่นที่ 15 ที่ศึกษาในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง จํานวน 65 คน เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์โดยใช้ค่าสถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ ความถี่ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัญหาการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาแลกเปลี่ยนชาวจีน เรียงลําดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ปัญหาด้านการสื่อสารปัญหาด้านทัศนคติและพฤติกรรม ปัญหาด้านวิธีการเรียน ปัญหาด้านสภาพแวดล้อม ปัญหาด้านหลักสูตรและการสอน ปัญหาด้านสังคมและวัฒนธรรม และปัญหาด้านเทคโนโลยี ตามลําดับ 2) ผู้เรียนใช้วิธีการปรับตัวแบบสู้มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 48.40 รองลงมาคือ การปรับตัวแบบประนีประนอม คิดเป็นร้อยละ 47.84 และการปรับตัวแบบถอยหนี คิดเป็นร้อยละ 3.76 ตามลําดับ และ 3) กระบวนการปรับตัว มี 4ระยะ ตามลักษณะ U-Curve Model ได้แก่ ระยะน้ําผึ้งพระจันทร์ ระยะเผชิญปัญหา ระยะปรับตัว และระยะหลังการปรับตัวซึ่งมีลักษณะหมุนวนหลายรอบ และบางคนไม่มีระยะน้ําผึ้งพระจันทร์ แต่จะมีความตื่นตระหนกทางวัฒนธรรมและเริ่มเข้าสู่ปัญหาทันที ดังนั้น การจัดการเรียนออนไลน์ที่มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความร่วมมือของทั้งผู้เรียน ผู้สอน หลักสูตร และมหาวิทยาลัยen
dc.description.abstractThis research aims to study the learning problems, method of adjustment, and online learning adjustment process among Chinese exchange students. Mixed methods research was employed to achieve these objectives. The sample consisted of 65 Chinese exchange students in the batch 15th studying in the Bachelor of Arts program in communicative Thai as a second language program. Questionnaires and interviews were used to collect data. The statistics used were the mean, standard deviation, percentage, frequency value, and Pearson Product Moment Coefficient. The results of this study revealed that: 1) problems with online learning among Chinese exchange students ranged from most common problems to least common. The most common problem was communication problems, followed by attitude and behavioral problems, learning methods problems, environmental problems, curriculum and teaching problems, social and cultural problems, and technological problems, respectively.2) the method of adjustment is found that most students adapt to struggle (48.40%) followed by a compromise reaction (47.84%), and withdrawal reaction (3.76%), respectively.3) the adjustment process can be divided into 4 phases according to the U-Curve Model, including the honeymoon period, coping period, adjustment period, and post-adjustment period which looks like it spins around many times. Besides, some students do not have a honeymoon period. However, there is a culture shock and it leads to a frustration stage. So effective online learning requires collaboration between instructors, students, in terms of curriculum, and universities.en
dc.language.isothen
dc.subjectการปรับตัว (จิตวิทยา)en
dc.subjectAdjustment (Psychology)en
dc.subjectนักศึกษาแลกเปลี่ยนจีนen
dc.subjectChinese exchange studentsen
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บen
dc.subjectWeb-based instructionen
dc.subjectการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์en
dc.subjectการเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์en
dc.titleการปรับตัวในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาแลกเปลี่ยนชาวจีนในยุควิถีใหม่ (New Normal): กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.title.alternativeThe Adjustment to Online Learning of Chinese Exchange Students In the New Normal Era: A Case Study at Huachiew Chalermprakiet Universityen
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Liberal Arts - Articles Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-Adjustment-to-Online-Learning-of-Chinese-Exchange-Students-In-the-New-Normal-Era.pdf110.48 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.