Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4315
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorLurong Niu-
dc.contributor.authorจันทร์สุดา ไชยประเสริฐ-
dc.contributor.authorJansuda Chaiprasert-
dc.date.accessioned2025-07-17T14:02:57Z-
dc.date.available2025-07-17T14:02:57Z-
dc.date.issued2024-
dc.identifier.citationวารสารศิลปศาสตร์วิชาการและวิจัย 19,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2567) : 54-75.en
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4315-
dc.descriptionสามารถเข้าถึงบทความเฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/273594/185887en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการสื่อความหมายอาณาจักรอยุธยาในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ไทย พ.ศ. 2481-2562 โดยศึกษานวนิยายอิงประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยาจํานวน 13 เรื่อง ผลการวิจัยพบว่า นวนิยายอิงประวัติศาสตร์ไทยได้สื่อความหมายอาณาจักรอยุธยาเน้นผ่านองค์ประกอบสําคัญของนวนิยาย 4 ประการ ได้แก่ ตัวละคร บทสนทนา ฉาก และมุมมองการเล่าเรื่อง โดยมีการสื่อความหมายโดยทางตรงและโดยทางอ้อมการสร้างตัวละครเน้นสื่อถึงภาพด้านการปกครองโดยตรง ยังได้สื่อถึงภาพด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศและภาพด้านวัฒนธรรมโดยทางอ้อม การสร้างบทสนทนาเป็นการสื่อความหมายโดยทางตรงที่เน้นสื่อถึงภาพด้านวัฒนธรรมเป็นหลัก และยังสื่อถึงภาพด้านการปกครอง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ และเศรษฐกิจ การสร้างฉากเน้นสื่อความหมายโดยตรง ได้สื่อถึงภาพด้านชีวิตความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และมีการสื่อความหมายทางอ้อมที่บอกถึงภาพการปกครองด้วย มุมมองการเล่าเรื่องมีแบบผู้รู้แจ้งและผู้เล่าเป็นตัวละครเอกในเรื่อง สื่อถึงภาพชีวิตความเป็นอยู่ การทหาร การปกครอง เป็นต้น โดยภาพด้านต่าง ๆ มีทั้งภาพดีและภาพไม่ดี เห็นได้ว่า องค์ประกอบของนวนิยายมีบทบาทสื่อถึงภาพอาณาจักรอยุธยาทั้งในด้านเหมือนและไม่เหมือนกัน จึงส่งเสริมให้ผู้อ่านได้รับรู้และเข้าใจความหมายของอาณาจักรอยุธยาที่มีความหลากหลายตามที่ผู้ประพันธ์ประสงค์จะถ่ายทอดได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นen
dc.description.abstractThis research aims to study techniques for conveying the Ayutthaya Kingdom in thirteen historical Thai novels, published between 1938 and 2019. Four literary elements are identified as techniques for conveying the Ayutthaya Kingdom's literal meanings and connotations: character; dialogue; setting; and point of view. Characterization in the novels studied focuses directly on the political aspects and indirectly on international relations and cultural aspects of the Ayutthaya Kingdom. Regarding dialogue, the novels primarily address cultural issues, including references to government, foreign affairs, and the economy. Regarding the setting, the direct meanings conveyed concern about living conditions, the economy, and culture, while indirect meanings related to government are also conveyed. Two types of points of view are used, namely the omniscient point of view and the first-person point of view, to present both positive and negative views on living conditions, the military; government, and so on. In conclusion, all four elements in the novels studied convey both similar and different meanings of the Ayutthaya Kingdom, allowing readers to acknowledge and comprehend its various dimensions as the authors intended to present.en
dc.language.isothen
dc.subjectนวนิยายประวัติศาสตร์en
dc.subjectHistorical fictionen
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.subjectContent analysis (Communication)en
dc.subjectแนวการเขียนen
dc.subjectLiterary styleen
dc.subjectไทย -- ประวัติศาสตร์ – กรุงศรีอยุธยาen
dc.subjectThailand -- History -- Ayutthayaen
dc.subjectนวนิยายไทยen
dc.subjectThai fictionen
dc.titleกลวิธีการสื่อความหมายอาณาจักรอยุธยาในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ไทย พ.ศ. 2481-2562en
dc.title.alternativeTechniques for Conveying the Ayutthaya Kingdom in Historical Thai Novels, 1938–2019en
dc.typeArticleen
Appears in Collections:Liberal Arts - Articles Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Techniques-for-Conveying-the-Ayutthaya-Kingdom-in-Historical-Thai-Novels-1938–2019.pdf96 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.