Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/437
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราโมทย์ ทองกระจาย-
dc.contributor.advisorPramote Thongkrajai-
dc.contributor.authorวราพร พลายชุมพล-
dc.contributor.authorWaraporn Plychumpol-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2022-06-17T14:02:25Z-
dc.date.available2022-06-17T14:02:25Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/437-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วทม.) (การจัดการระบบสุขภาพ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2549th
dc.description.abstractการศึกษาเปรียบเทียบ เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยสี่ยงต่อการเกิดภาวะสูดสำลักขี้เทาในทารก แรกเกิดของโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรี โดยศึกษาย้อนหลังในกลุ่มทารกที่มีภาวะสูดสำลักขี้เทาที่ได้รับไว้รักษา ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2544 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2547 ดำเนินการศึกษาทารกที่เกิดภาวะสูดสำลักขี้เทาเข้าปอด ตามเกณฑ์การวินิจฉัยที่ได้กำหนดขึ้น จำนวน 187 ราย มีประวัติละเอียดให้ศึกษาจำนวน 134 ราย (กลุ่มผู้ป่วย) และทารกที่ไม่เกิดภาวะสูดสำลักขี้เทาเข้าปอด จำนวน 243 ราย (กลุ่มเปรียบเทียบ) โดยเก็บข้อมูลด้านมารดา เกี่ยวกับประวัติส่วนบุคคล การตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ขณะรอคลอด ขณะคลอด และข้อมูลด้านทารกเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของทารก ภาวะแทรกซ้อนขณะอยู่ในครรภ์มารดา ขณะคลอดและหลังคลอด การดูแลและผลการรักษาทารก โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลที่จัดทำขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และทดสอบความสัมพันธ์เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงโดย Odds Ratio (OR) 95% Confidence interval of OR, Chi-square test และ Fisher’s exact test ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะสูดสำลักขี้เทาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ปัจจัยด้านมารดา ได้แก่ ครรภ์เกินกำหนด (อายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์) (OR = 4.68, p = 0.003) ประวัติภาวะคับขัน (Fetal Distress) (OR = 2.32, p = 0.004) มีการติดเชื้อ เอช ไอ วี (OR = 5.07, p = 0.02) รกลอกตัวก่อนกำหนด (ไม่สามารถหาค่าได้, p = 0.002) ปัจจัยด้านทารก คือ ค่าการประเมินภาวะสุขภาพที่ 1 นาทีแรกคลอด (Apgar score ที่ 1 นาที) < 7 (OR = 1.81, p = 0.02) นอกจากนี้ได้ศึกษาภาวะแทรกซ้อนของทารกที่พบบ่อย ได้แก่ ปอดบวมร้อยละ11.2 ถุงลมรั่ว ร้อยละ 9.0 และภาวะความดันเลือดในปอดสูงร้อยละ 3.7 ซึ่งภาวะความดันเลือดในปอดสูงเป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงในผู้ป่วยกลุ่มนี้ภาวะสูดสำลักขี้เทายังคงเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดปัจจัยดังกล่าวต้องมีการร่วมมือกันระหว่างทีมสูติกรรมและกุมารเวชกรรมในการดูแลมารดาตั้งแต่การมาฝากครรภ์ การดูแลมารดาและทารกในขณะรอคลอด ขณะคลอด และหลังคลอดอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะช่วยลดความรุนแรงและลดอัตราการตายของทารกที่มีภาวะสูดสำลักขี้เทาได้th
dc.description.abstractThis is a retrospective study of infants with meconium aspiration sydrome (MAS) in Chaopraya Yomaraj Hospital, Suphanburi. The purpose was to investigate the risk factors for MAS during 3 year period (October 2001 to September 2004). A case control study was carried out among 134 infants with MAS (the case group) and 243 non MAS infants (the control group). Data, obtained from medical records including personal history, obstetric conduction and complication in mothers and infants of the case and control groups, were analyzed by using descriptive statistics, Chi-square test, Odds ratio (OR), 95% Confidence interval of OR, and Fisher’s exact test. Results revealed that the significant risk factors for neonatal meconium aspiration syndrome were (a) post term (OR=4.68, p=0.003) (b) fetal distress (OR=2.32, p=0.004) (c) HIV positive (OR=5.07, p=0.02) (d) abruptio placenta (OR= infinity, p=0.002) and apgar score at 1 min <7 (OR=1.83, p=0.023). In addition, the complications of MAS were studied and result showed that the common complications were pneumonia (11.2%) ,pneumothorax (9.0%) and persistant pulmonary hypertension of the newborn (PPHN) (3.7%). PPHN was the most serious complication. MAS remained one of the most common occurrence among infants, faced by health care providers. Management for reducing the risks for MAS should be emphasized. The integration of obstetric and pediatric interventions at birth, such as, amnio infusion and aggressive resuscitation should be applied. This may decrease the incidences of MAS. It was suggested that an appropriate antenatal and postnatal management guide lines should be established and implemented to reduce the morbidity and mortality rates of MAS.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectทารกแรกเกิดภาวะวิกฤตth
dc.subjectNeonatal Intensive Careth
dc.subjectการดูแลขั้นวิกฤตทางกุมารเวชศาสตร์th
dc.subjectCritical care -- in infancy & childhoodth
dc.subjectทางเดินหายใจ -- ในวัยทารกและวัยเด็กth
dc.subjectRespiratory tract diseases -- In infancy & childhoodth
dc.titleปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสูดสำลักขี้เทาในทารกแรกเกิดโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรีth
dc.title.alternativeRisk Factors for Meconium Aspiration Syndrome in Infants at Chaopraya Yomaraj Hospital, Suphanburith
dc.typeThesisth
dc.degree.nameวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการจัดการระบบสุขภาพth
Appears in Collections:Nursing - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.pdf
  Restricted Access
148.08 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
tableofContent.pdf
  Restricted Access
136.75 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
chapter1.pdf
  Restricted Access
197.51 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
chapter2.pdf
  Restricted Access
305.77 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
chapter3.pdf
  Restricted Access
193.25 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
chapter4.pdf
  Restricted Access
546.14 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
chapter5.pdf
  Restricted Access
292.8 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
reference.pdf
  Restricted Access
261.74 kBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.