Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/492
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย | - |
dc.contributor.advisor | Sangaroon Kanokpongchai | - |
dc.contributor.author | Shengpu, Xiong | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-11T13:39:57Z | - |
dc.date.available | 2022-07-11T13:39:57Z | - |
dc.date.issued | 2012 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/492 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2555 | th |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องคติความเชื่อที่เกี่ยวกับการค้าขายของคนไทยเชื้อสายจีน ในตลาดบ้านใหม่ จังหวัดฉะเชิงเทรา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคติความเชื่อแบบดั้งเดิมที่เกี่ยวกับการค้าขายของคนไทยเชื้อสายจีนในตลาดบ้านใหม่ จังหวัดฉะเชิงเทรา และเพื่อวิเคราะห์ความเชื่อแบบผสมผสานที่มีอิทธิพลต่อการค้าขายตามกระแสการเปลี่ยนแปลง ผลการวิจัยพบว่า คติความเชื่อแบบดั้งเดิมที่เกี่ยวกับการค้าขายของคนไทยเชื้อสายจีนในตลาดบ้านใหม่ จังหวัดฉะเชิงเทรา แบ่งออกมาเป็น 6 ส่วน คือ 1) สิ่งเคารพบูชาประจำชุมชน 2) สิ่งเคารพบูชาในเคหะสถานบ้านเรือน 3) สัตว์หรือสัญลักษณ์มงคลในบ้าน 4) วัตถุมงคลหน้าประตูร้านค้า 5) เครื่องรางของขลังติดตัว และ 6) ปรากฏการณ์ต่างๆ ในการดำเนินการค้าขาย ความเชื่อเหล่านี้เป็นจุดเด่นของตลาดบ้านใหม่ และทำให้ตลาดบ้านใหม่มีความหมายมีสีสันมากขึ้น เนื่องจากการดำเนินการค้าขายของตลาดบ้านใหม่ในทุกวันนี้ต้องดำเนินการภายใต้การจัดการการท่องเที่ยว จึงทำให้วิถีการดำเนินการค้าขายและแนวความคิดมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง แต่คติความเชื่อแบบผสมผสานยังคงมีอิทธิพลต่อการค้าขายในหลายด้าน คือ มีอิทธิพลด้านความปลอดภัย มีอิทธิพลด้านทำให้จิตใจสงบและส่งเสริมกำลังใจ มีอิทธิพลด้านลูกหลานเต็มบ้านเต็มเมืองทำให้เกิดการขยายการค้าขาย มีอิทธิพลด้านครอบครัวอยู่อย่างมั่นคง และมีอิทธิพลด้านสืบทอดวัฒนธรรม ซึ่งทำให้การค้าขายได้เจริญก้าวหน้า บ้านเรือนมีเงินทอง แต่เนื่องจากมีปัจจัยเสี่ยงหลากหลายเกิดขึ้นมาตามสภาพการเปลี่ยนแปลง ฉะนั้นชาวตลาดบ้านใหม่นอกจากอาศัยคติความเชื่อแล้ว ยังต้องหากลวิธีที่จะลดปัจจัยเสี่ยงควบคู่ไปกับคติความเชื่อด้วย | th |
dc.description.abstract | The study of "Belief about Trading of Chinese-Thais in Baan Mai Market, Chachoengsao Province" aims to study the traditioanl beliefs about trading of Chinese-Thais in Baan Mai Market, Chachoengsao Province, and to analyze the integrated beliefs that influence the business affected by changing trends. The research found that beliefs about trading of Chinese-Thais in Baan Mai Market, Chachoengsao Province could be sorted into six groups which are 1) communal deities 2) household deities and sacred objects 3) household propitious animals or symbols 4) entrance auspicious objects 5) sacred amulets, and 6) miscellaneous beliefs. All the beliefs about trading indirectly support business in Baan Mai Market which at present are managed to promote the tourism of the area. Consequently, some traditioanl beliefs are adjusted to be more modern. However, the new integrated beliefs still influence the trading in many ways, including life safety, creating peace of mind or strengthening the mind, creating economic prosperity, stabilizing the family, and cultural transmissiom. The final aims of these beliefs are the progress and wealth of lives and businesses. Besides beliefs about trading, traditional or integrated, the Chinese-Thais in Baan Mai Market also apply strategies in managing their businesses. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | ความเชื่อ | th |
dc.subject | Belief and doubt | th |
dc.subject | Superstition | th |
dc.subject | โชคลาง | th |
dc.subject | ชาวจีน -- ไทย | th |
dc.subject | Chinese -- Thailand | th |
dc.subject | การค้า | th |
dc.subject | Commercial | th |
dc.subject | ตลาดบ้านใหม่ (ฉะเชิงเทรา) | th |
dc.subject | Baan Mai Market | th |
dc.title | คติความเชื่อที่เกี่ยวกับการค้าขายของคนไทยเชื้อสายจีนในตลาดบ้านใหม่ จังหวัดฉะเชิงเทรา | th |
dc.title.alternative | Beliefs about Trading of Chinese-Thais in Baan Mai Market, Chachoengsao Province | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง | th |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
abstract.pdf | 461.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
table of content.pdf | 133.81 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter1.pdf | 176.3 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter2.pdf | 644.66 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter3.pdf | 3.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter4.pdf | 283.63 kB | Adobe PDF | View/Open | |
chapter5.pdf | 131.42 kB | Adobe PDF | View/Open | |
reference.pdf | 288.94 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.