Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิดา โมสิกรัตน์-
dc.contributor.advisorThida Mosikarat-
dc.contributor.authorZhang, Liqun-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts-
dc.date.accessioned2022-07-13T06:28:25Z-
dc.date.available2022-07-13T06:28:25Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/498-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2559th
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลวิธีการแต่งและแนวคิดในวรรณกรรมสำหรับเยาวชนที่ได้รับรางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด จำนวน 6 เล่ม และนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า วรรณกรรมสำหรับเยาวชนที่ได้รับรางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด พ.ศ. 2553-2555 ใช้กลวิธีการแต่ง ได้แก่ การตั้งชื่อด้วยเหตุการณ์สำคัญ ชื่อบุคคลหรือคำเรียกแทนบุคคลในเรื่อง การวางโครงเรื่องที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับชีวิตเด็กโดยให้แง่คิดการแก้ปัญหา กลวิธีการเปิดเรื่องโดยการบรรยาย การพรรณนา และใช้บทสนทนา ผู้แต่งใช้กลวิธีการดำเนินเรื่องโดยสร้างความขัดแย้ง และปิดเรื่องแบบสุขนาฏกรรม โศกนาฏกรรม แบบหักมุม และทิ้งปัญหาไว้ให้คิด ส่วนตัวละคน ผู้แต่งสร้างตัวละครที่เป็นเด็ก ผู้ใหญ่ และสัตว์ มีฉาก และบรรยากรศ ที่เป็นสถานที่ เหตุการณ์ และสิ่งแวดล้อมที่บอกเล่าเรื่องราวของตัวละคร ส่วนบทสนทนาเป็นกลวิธีการแต่งที่ช่วยดำเนินเรื่อง บอกลักษณะนิสัยตัวละครให้คติและข้อคิด ด้านแนวคิดในวรรณกรรมสำหรับเยาวชน ที่ได้รับรางวัลเซเว่นบุ๊อวอร์ด พ.ศ. 2553-2555 พบว่าผู้แต่งได้นำเสนอแนวคิดที่สำคัญ คือ แนวคิดเกี่ยวกับความรัก ได้แก่ ความรักในครอบครัวกับความรักระหว่างบุคคลในชุมชน แนวคิดเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม ได้แก่ ความกตัญญู ความอดทน ความขยันหมั่นเพียร ความกล้าหาญ และความมีน้ำใจที่ปลูกฝังแก่เยาวชน แนวคิดเกี่ยวกับเยาวชนมีพฤติกรรมไม่ดี แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ได้แก่ เทศกาลกับการไหว้ และแนวคิดกับปัญหาสังคมด้านปัญหาการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสมกับเยาวชนth
dc.description.abstractThis research article presented literary techniques in young adult literature winning the Seven Book Award, during 2010-2012. Six stories were studied, Literary techniques found were as follow: 1) Titles were set according to the crises, names or nicknames of characters in the stories. 2) Plots were related to young adults suggesting ideas of sloving problems. The works studied presented various opening styles- descriptive, narrative, or dialogues; structures of the plot contained conflicts; and the endings were happy, tragic, twisted, or open. 3) Characters were focused on children and also included grown-ups and animals. 4) Setting was presented actually and as retold memories. 5) Dialogues were functioned to advance the stories, characterize characters and implied ideas. For the main ideas found in the work studied were: 1) Affections, including the domestiocs harmony and of the community, 2) Morals, including gratitude, toleration, industriousness, courage, and generosity, 3) Misbehavior of young adults, 4) Thai culture, including festivals and the Thai way of greeting (wai), and 5) Social problems, relating to unread media on electronic websites.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectการแต่งร้อยแก้วth
dc.subjectEssayth
dc.subjectแนวการเขียนth
dc.subjectLiterary styleth
dc.subjectวรรณกรรมสำหรับวัยรุ่นth
dc.subjectJuvenile literatureth
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาth
dc.subjectContent analysis (Communication)th
dc.subjectรางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ดth
dc.subjectSeven Books Awardsth
dc.titleกลวิธีการแต่งและแนวคิดในวรรณกรรมสำหรับเยาวชนที่ได้รับรางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด พ.ศ. 2553 – 2555th
dc.title.alternativeLiterary Techniques and Themes in Young Adult Literature Winning the Seven Books Awards, during 2010-20142th
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สองth
Appears in Collections:Liberal Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ZHANG-LIQUN.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.