Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/567
Title: 从牡丹的《南风吹梦》看泰国的边缘人
Other Titles: วิเคราะห์ตัวละครชายขอบในนวนิยาย "จดหมายจากเมืองไทย" ของโบตั๋น
An Analytical Study of Marginal Characters on Botan's Novel " Letter from Thailand"
Authors: 许总
Xu, Zong
สวี, จ่ง
杨玲萍
ประพิณ เวสารัชชนนท์
Keywords: ตัวละครและลักษณะนิสัยในวรรณคดี
Characters and characteristics in literature
ชาวจีน -- ไทย
中国人-- 泰国
นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์
Thai fiction -- History and criticism
文学中的人物和性格
中国人 -- 泰国
泰国小说 -- 历史与批评
Issue Date: 2010
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยให้เห็นอำนาจของวาทกรรมทางสังคม ที่ทำให้คนชายขอบกลายเป็นบุคคลไร้ตัวตน การวิจัยนี้จึงใช้แนวของสร้างสรรค์นิยม (Constructivism) และวิธีวิทยาอัตชีวประวัติ (Autobiography) ในการศึกษาประสบการณ์ของคนชายขอบผ่านนวนิยายเรื่อง จดหมายจากเมืองไทย โดยศึกษาจากส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้ ลักษณะของชายขอบที่ปรากฏอยู่ในเรื่อง โดยได้ศึกษาภูมิหลังของตัวละคร ทั้งในแง่ของสถานภาพของสังคม ความสัมพันธ์กับสังคมกับตัวละคร ตลอดจนกระบวนการคิดของตัวละครแต่ละตัว ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นที่่่ส่งผลให้ตัวละครถูกเบียดขับเป็นคนชายขอบของสังคม ทั้งความขัดแย้งทางความคิดและวัฒนธรรมตลอดจน วิธีแก้ไขปัญหาของตัวละครในการพยายามเพื่อให้ตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ความงามทางด้านวรรณศิลป์ที่ใช้ในการเขียนเพื่อให้ผู้อ่านรู้สึกคล้อยตาม ตลอดจนภูมิหลังของผู้แต่ง ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้สร้างผลงานเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและปัญหาในสังคมเช่นนี้ ออกมา ผลจากการศึกษาปริญญานิพนธ์นี้ ทำให้เราได้ตระหนักว่า หากก้าวถอยออกมาจากวังวนของความคิดเดิม โดยการ "ตีค่า" สิ่งต่างๆ ที่ดำรงอยู่ และยอมรับว่ามีความแตกต่างได้อย่างไม่มีอคติแล้ว ย่อมจะสร้างความเปลี่ยนแปลงในสังคมให้เกิดขึ้นได้ ความแตกต่างทั้งความคิดหรือการใช้ชีวิต มิใช่ความผิด หรือความเลว ดังนั้น การตัดสินคนโดยใช้บรรทัดฐานทางวาทกรรมเพียงไม่กี่ชุดมาเป็นตัวกำหนดตัวตนของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง จะทำให้ก่อความรุนแรงต่อผู้อื่นโดยไม่รู้ตัว สิ่งที่คนส่วนใหญ่คิด เชื่อและยึดถือปฏิบัตินั้น อาจจะไม่ใช่สิ่งที่ดีเสมอไป สิ่งปกติที่เรามองเห็นจนชินตา พฤติกรรมที่เราทำจนคุ้นชินในชีวิตประจำวัน รวมถึงิส่งทีเรารับรู้และเชื่อมั่นจึง แท้จริงแล้วอาจไม่ใช่อย่างที่เรา "คิด" เสมอไป ทำให้เราตระหนักว่า มนุษย์ควรอยู่ร่วมกันอย่างสันติบนความแตกต่างหลากหลาย มิใช่อาศัยความแตกต่างนั้นแบ่งแยก แบ่งพวก แบ่งฝ่าย เพราะหากเป็นเช่นนั้น สุดท้ายเราก็จะได้เพียงการแบ่งแยกเป็นคู่ตรงข้ามขาวหรือดำ ฉันหรือเธอ ผู้ชายหรือผู้หยิง ซึ่งรังแต่จะสร้างความแตกแยกให้มากขึ้น และเบียดขับคนไปสู่ความเป็นชายขอบมากขึ้นเท่านั้น
This thesis is writen to reveal the power of social discourses that make marginal people become unacknowkedge. By using Constructivism and autobiography methodology to studied experiences of a marginal man through Letter from Thailand. Point of study: 1. Categorizing marginal people that appear in the story by studying characters' background, social status, connetction between characters and the community and characters' perspective. 2. Identifying conflicts that cause characters to become marginal such as cultural differences. Studying the way characters try to resolve the conflicts by trying to become part of the community. 3. Studying beautiful literary techniques that work to persuade readers and the authors' inspiration from past experiences that enable her to write about human rights and social problems. This thesis can make us relaize that if we step out of our own "judgmental" thoughts and accept differences unconditionally, then we can make a difference in our society. Differences in thought or life styles are a crime. Therefore, judging others by using certain discourses and social norms can be seen as violence. Things that most people think, believe and do is not always good and just. Things that we always see, actions that we get used to, things that we learned and believed may, in fact, not be as we understand. This make us realize that human should learn to live peacefully with differences, do not use the differences to seperate themselves from the others because it will surely lead to more conflicts and pushing more people to be marginal people.
本文的目的是为了展开社会话语权力,使边缘人在社会没有地位,没有人接受,,这本论文借用实证研究 (Constructivism) 和自传研究 (Autobiography) ,从长片小说《南风吹梦》中研究边缘人的经验。 本文的论述分为以下几个部份: 边缘人的类型包括《南风吹梦》中的边缘人物,他们的背景,角色与地位和社会关系。 在《南风吹梦》中的冲突形成人物边缘人之缘故偏见,提到小说中冲突事件包括思想冲突,文化冲突,还研究在《南风吹梦》这本小说的边缘人物有什么方式让社会接受他们。 《南风吹梦》中边缘描写的艺术特色,研究南风吹梦中的说服性语言怎么,书面形式和作者的背景。 综上所述,作者在小说《南风吹梦》中。通过研究了许多《南风吹梦》的边缘人物,我们可以说其实问题的根基并不是在边缘人的身上,而在社会的规定、和价值观念,限了人类的的生活和想法,对没有力量的人象边缘人的很大影响,使边缘人要 根据一种方法生活、同时在社会的主流人也有边缘人一种想象,但那个边缘人的 “想象” 也跟 “其实” 的边缘人不一样,使人们都觉得边缘人的权利是无聊的事,因为这些人在社会是无形的,让人们不觉得这样对他们是压迫 或者治疗,还觉得这件事只是一个人的问题,是个人的痛苦,最好就只能使 “主流人” 可怜,但这个 “可怜” 的感觉是还不够,这种感觉不能改变这个“偏见的社会” 不能解决问题,使边缘人之事只是可怜的故事,听到后就算了,使边缘人要独立想办法让社会接受,有的边缘人强烈得反对这个偏见,有的不在乎别人的看法只跟自己的社会在一起,有的边缘人为了让别人接受而改变自己,等等。双方面对面讨论也是一种可以编辑问题的方式,但是有些说法也可能使冲突更厉害。 其实这些办法只是解决的最终结果,如果社会还有 “你我之分”,“跟我们不一样” 这些偏见,这个社会当然还有边缘人的问题,我们应该知道有些话可以会伤害别人的心,应该将心比心,体谅别人的心情,该知道有时觉得是好的意见,对别人来说并不认为好,不要陷入话语权陷阱,让这个社会不要再有可怜的边缘人。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2010
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/567
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf386.77 kBAdobe PDFView/Open
TableofContents.pdf316.62 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf339.16 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf
  Restricted Access
336.28 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
Chapter3.pdf
  Restricted Access
554.99 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
References.pdf387.99 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.