Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/572
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor徐华-
dc.contributor.advisorXu, Hua-
dc.contributor.advisorสวี่, ฮว๋า-
dc.contributor.author彭娟-
dc.contributor.authorภัทรวดี ตรัยที่พึ่ง-
dc.date.accessioned2022-07-30T11:10:25Z-
dc.date.available2022-07-30T11:10:25Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/572-
dc.descriptionThesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2011th
dc.description.abstract中国现代作家巴金《家》《春》《秋》与泰国现代文学奠基人、作家西巫拉帕(古腊•赛巴立的笔名)《以罪斗争》中同样塑造了悲剧女性形象。这些女性形象,让读者为其感到惋惜哀痛的同时,更能深入地揭示造成这些悲剧的社会环境,家族势力,身份地位以及人物性格对作品中悲剧女性的多重影响因素。 在《家》《春》《秋》中,巴金成功地成功塑造了三种不同类型的悲剧女性形象。以琴为代表的知识女性,为了追求自己的爱情与幸福,毅然与封建家庭和封建社会进行反抗;以瑞珏、梅为代表的大家闺秀,忍辱负重,不思反抗,成了封建家庭和封建社会的牺牲品;以鸣凤为代表的下层奴婢女性,在大胆追求理想爱情与幸福时,反抗不彻底,成了封建社会的陪葬品。 而在《以罪斗争》中,西巫拉帕用抒情的手法刻画了泰国悲剧女性的形象。西巫拉帕成功地成功塑造了两种不同类型的悲剧女性形象。以婉鹏为代表的知识女性,为了追求自己的爱情与幸福,虽然她生活在封建的家庭中,但是她敢对于命运做出抗争;以妍为代 表的下层奴婢女性,为了追求理想爱情与幸福,她敢于与爱的人萌发了爱情,虽然他们两个截然不同的阶级。 本论文的创新之处在于把巴金的《家》《春》《秋》与西巫拉帕的《以罪斗争》的不同的女性形象进行对比分析,从中分析这两部小说中的女性形象的共性与特性,从文学作品中把握这几个女性的文学形象,揭示文学作品中这几个女性悲剧形象反映的思想意识,伦理道德,传统思想和封建礼教对她们人生命运的影响,从而探讨多元文化下泰中文学在塑造悲剧女性形象上的文学特点和描写手法上的不同。 本论文的目的和意义在于比较分析这两部作品,揭示在不同文化和社会的背景下,在封建礼教,传统思想和旧的社会伦理道德的束缚和影响下,所造成的作品中几个不同女性的不同遭遇,以及产生悲剧性的社会种种原因。 本论文在第一章中对《家》《春》《秋》与《以罪斗争》的写作背景,分析了他们不同的创作背景。 在第二章中,本文对这两部作品中的女性形象进行了比较。对她们进行了人物的命运比较,形象地展现比较和家族势力与女性地位比较。 在第三章中,本文分析了中国与泰国现代女性意识的萌芽。 本论文主要采用对比分析的方法,比较这两个作品中女性在爱情婚姻上的悲剧、命运悲剧,并从她们的悲剧中分析在她们身上所反映的女性意识,封建礼教和传统道德思想,以及她们的生活周边环境等多种因素对她们的影响作用。th
dc.description.abstractปาจินนักเขียนสมัยใหม่ของจีนและศรีบูรพา นักเขียนผู้วางรากฐานวรรณคดีสมัยใหม่ ของไทย ต่างได้สร้างภาพลักษณ์สตรีแนวโศกนาฏกรรมที่เหมือนกัน กล่าวคือ ภาพลักษณ์สตรี ในเรื่อง “บ้าน” “ฤดูใบไม้ผลิ” “ฤดูใบไม้ร่วง” และภาพลักษณ์สตรีในเรื่อง “ผจญบาป” ภาพลักษณ์ของสตรีเหล่านี้ได้สร้างความสะเทือนใจอย่างมากแก่ผู้อ่าน อีกทั้งยังสามารถเผยให้เห็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อโศกนาฏกรรมของตัวละครหญิงนั้นได้อย่างลึกซึ้ง เช่น สภาพแวดล้อมทางสังคม อิทธิพลจากครอบครัว ฐานะทางสังคมและลักษณะนิสัยของตัวละคร เป็นต้น เรื่อง “บ้าน” “ฤดูใบไม้ผลิ” “ฤดูใบไม้ร่วง” ปาจินได้สร้างภาพลักษณ์สตรีแนวโศกนาฏกรรมเป็นสามลักษณะ ฉินเป็นตัวละครหญิงที่มีความรู้ เธอต่อต้านระบบสังคมศักดินาและครอบครัวศักดินาอย่างเด็ดเดี่ยว เพื่อที่จะแสวงหาความรักและความสุขของตนเอง ยุ่ยเจี๋ย และเหมย เป็นตัวละครหญิงที่มีความอดทนสูง ไม่คิดที่จะต่อต้านจึงกลายเป็นเครื่องสังเวยให้แก่สังคมศักดินาและครอบครัวศักดินา หมิงฝ้งเป็นตัวละครหญิงที่เกิดมาเป็นคนรับใช้ที่มีฐานะต้อยต่ำ เธอใจกล้าที่จะแสวงหาความรักและความสุขตามที่ใจเธอคิด ต่อต้านกับครอบครัวศักดินาอย่างไม่หยุดยั้ง แต่สุดท้ายก็กลายเป็นเครื่องสังเวยให้แก่ระบบสังคมศักดินา ส่วนเรื่อง “ผจญบาป” ศรีบูรพาบรรจงสร้างภาพลักษณ์สตรีแนวโศกนาฏกรรม ศรีบูรพาได้สร้างภาพลักษณ์สตรีแนวโศกนาฏกรรมเป็นสองลักษณะ วันเพ็ญเป็นตัวละครหญิงที่มีความรู้ ถึงแม้เธอจะเกิดมาในครอบครัวศักดินา แต่เธอก็กล้าที่จะต่อสู้กับโชคชะตาของตนเอง เพื่อที่จะแสวงหาความรักและความสุขของตนเอง เย็นเป็นตัวละครหญิงที่เกิดมาเป็นคนรับใช้ที่มีฐานะต่ำต้อย แต่เธอ ใจกล้าที่จะแสวงหาความรักและความสุข เธอกล้าที่จะมีความรักกับคนที่เธอรักถึงแม้ว่าเธอกับคน ที่เธอรักจะมีฐานะต่างกัน การริเริ่มสร้างสรรค์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ อยู่ที่เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบตัวละครในนวนิยายเรื่อง “บ้าน” “ฤดูใบไม้ผลิ” “ฤดูใบไม้ร่วง” ของปาจินและนวนิยายเรื่อง “ผจญบาป” ของศรีบูรพา โดยวิเคราะห์ลักษณะร่วมและลักษณะพิเศษของภาพลักษณ์สตรี ในนวนิยายสอง เรื่องนี้ รูปลักษณ์ทางวรรณกรรมของสตรีทั้งสองแสดงให้เห็นถึงผลกระทบต่อชะตาชีวิตของพวกเธออันเกิดจากความคิด คุณธรรมจริยธรรม คตินิยมและศีลธรรมจรรยาที่สะท้อนจากโศก- นาฏกรรมของหญิงสาวเหล่านี้ และพิเคราะห์ความต่างของจุดเด่นวรรณกรรมและวิธีบรรยายเพื่อสร้างภาพลักษณ์สตรีแนววรรณคดีไทยจีนภายใต้วัฒนธรรมที่หลากหลาย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบและแสดงคุณค่าของงานเขียนทั้งสองชิ้นนี้ โดยแสดงให้เห็นถึงชะตากรรมที่ต่างกันอันเป็นผลมาจากศีลธรรมจรรยา คตินิยม และคุณธรรมจริยธรรมของสังคมเก่า และแสดงถึงเหตุผลทางสังคมที่ทำให้เกิดโศกนาฏกรรม พิเคราะห์สภาพจิตใจและความคิดของตัวละครหญิงในสองเรื่องนี้ บทที่หนึ่งของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการวิเคราะห์ภูมิหลังของงานประพันธ์ที่ต่างกันในการสรรค์สร้างงานเขียน “บ้าน” “ฤดูใบไม้ผลิ” “ฤดูใบไม้ร่วง” และ “ผจญบาป” บทที่สอง เปรียบเทียบภาพลักษณ์สตรีในงานเขียนทั้งสองเรื่องนี้ โดยเปรียบเทียบด้านโชคชะตาของตัวละครหญิง ภาพลักษณ์ที่แสดงออกมา อิทธิพลของครอบครัวและสถานะของ ตัวละครหญิง บทที่สาม วิเคราะห์ทัศนคติของสตรีในยุคสมัยใหม่ทั้งของจีนและไทย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ใช้วิธีวิเคราะห์เปรียบเทียบเป็นหลัก โดยเปรียบเทียบโศกนาฏกรรมด้านความรัก การแต่งงานและโชคชะตาของตัวละครหญิงในเรื่อง พร้อมทั้งวิเคราะห์ทัศนคติของผู้หญิง ศีลธรรมจรรยาและแนวคิดด้านคุณธรรมจารีตที่สะท้อนจากตัวละครหญิงในโศกนาฏกรรม รวมถึงผลกระทบของพวกเธออันเกิดจากปัจจัยหลายอย่างเช่น สิ่งแวดล้อมรอบตัว เป็นต้นth
dc.description.abstractBajin’s writers of modern China and Sriburapha’s writers who laid the foundation of modern Thai literature. Women have a different look along the same tragedy. Is the image of women in the “The Family” , “spring” , “Autumn” and the image of women in “Struggle Amidst Sins” image of these women had contributed greatly to the reader side. It also can reveal important factors affecting the tragedy of the female characters have depth, such as the social environment. Influenced by family Social position and habits of the characters and so on. On “The Family” , “Spring” , “Autumn” Bajin’s was a tragic image of women along the three characteristics. Qin is the female characters who have knowledge. Against her dignity and social dignity family steadily In order to find love and happiness of their own. Ruijue and Mei is a female character with a high tolerance. Not thought to be against it become the sacrifice to the social elite and elite families. Mingfeng is born female characters who serve as a low Her courage to seek love and happiness as your heart think. Anti-elite families relentless. But in the end it becomes a system for paying homage to the social elite. Section on “Struggle Amidst Sins”Sriburapha’s elaborate image of a women's line tragedy Sriburapha’s tragedy has created a line image of women as second nature. Wanpen is the female characters who have knowledge. Although she was born into elite families. But her courage to fight for the destiny of their own. In order to find love and happiness of their own. Yen female characters who are born as a servant as a humble But her courage to seek love and happiness. She has the courage to love with the man she loved, although she is with someone you love has a different position. The initiative of the thesis this is an analytical character in the novel, “The Family”,“Spring”,“Autumn” of Bajin’s and the novel “Struggle Amidst Sins”of Sriburapha’s by analyzing the characteristics and styles. Special appearance of two women in this novel. The look of women's literature, both to demonstrate the impact on their fate caused her thoughts. Morality. Ideology and morality that reflects the tragedy of these young women. And examines the various features of the literature and describe how to create the image of women along the Thai Chinese literature under a variety of cultures. This thesis aims to compare and analyze the harmlessness of the two pieces of writing this By demonstrating a different fate as a result of morality and moral ideology of the old society. And show cause why social tragedy. Psychiatry and mental idea of two female characters in this story. In the first chapter of this thesis is to analyze the background of prose that make the difference in writing “The Family” , “Spring” , “Autumn” and “Struggle Amidst Sins”. In the second chapter comparing image of women in both writing this story. By comparing the fate of female characters. Image displayed. The influence of the family and the status of female characters. In the Third chapter Analysis of the attitudes of women in the era of China and Thailand. This thesis is a comparative analysis is key. By comparing the tragedy of love. Marriage and the fate of female characters in the story. And to analyze the attitudes of women. Morality and moral concepts that reflect the tradition of female characters in tragedy Including the impact of their hearts caused by many factors such as Surroundings etc.th
dc.language.isozhth
dc.publisherHuachiew Chalermprakiet Universityth
dc.subjectปาจิน -- ประวัติและวิจารณ์th
dc.subject巴金th
dc.subjectBajin -- History and criticismth
dc.subject西巫拉帕th
dc.subjectศรีบูรพา -- ประวัติและวิจารณ์th
dc.subjectSriburapha -- ประวัติและวิจารณ์th
dc.subjectกุหลาบ สายประดิษฐ์th
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาth
dc.subjectContent analysis (Communication)th
dc.subjectสตรีในวรรณกรรมth
dc.subject文学中的女性th
dc.subjectวรรณคดีเปรียบเทียบth
dc.subjectComparative literatureth
dc.subject中国文学 -- 历史与批评-
dc.subject泰国文学 -- 历史与批评-
dc.subject比较文学-
dc.subject文学中的女性-
dc.subject内容分析-
dc.title巴金的《家》《春》《秋》与西巫拉帕的 《以罪斗争》比较研究th
dc.title.alternativeศึกษาเปรียบเทียบ "บ้าน" ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูใบไม้ร่วง ของปาจินกับ "ผจญบาป" ของศรีบูรพาth
dc.title.alternativeA Comparative Study of Bajin's "The Family", "Spring", "Autumn" and Sriburapha's " Struggle Amidst Sins"th
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineวรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัยth
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf662.05 kBAdobe PDFView/Open
Table of contents.pdf303.6 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf476.65 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf
  Restricted Access
528.84 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
Chapter3.pdf
  Restricted Access
357.71 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
References.pdf410.55 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.