Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/592
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor毛翰-
dc.contributor.advisorMao, Han-
dc.contributor.advisorเหมา ฮั่น-
dc.contributor.author李玉良-
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ ลีลาพันธ์ไพบูลย์-
dc.date.accessioned2022-07-31T04:56:49Z-
dc.date.available2022-07-31T04:56:49Z-
dc.date.issued2010-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/592-
dc.descriptionThesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2010th
dc.description.abstractบทประพันธ์เอกของเหลาเส่อ คนลากรถ และนวนิยาย เรื่อง คำพิพากษาของชาติ กอบจิตติ นั้น ล้วนเป็นนวนิยายแนวสัจนิยมที่ควรค่าแก่การศึกษาค้นคว้า คุณค่าของนวนิยายสองเรื่องนี้ ได้แก่ การสะท้อนให้เห็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในสังคม โดยสิ่งที่สะท้อนออกมาคือเรื่องราวโศกนาฏกรรมระหว่างปัจเจกชนและสังคม ซึ่งก่อกำเนิดจากสภาพสังคมที่บิดเบี้ยวพิกลพิการจากความเจริญที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่แปรเปลี่ยน ตัวละครเอกของคนลากรถและคำพิพากษาล้วนเป็นชนใช้แรงงานระดับล่าง ความทุกข์ทนของพวกเขาไม่ได้มีสาเหตุมาจากการดำเนินชีวิตที่ยากจนข้นแค้นเท่านั้น สาเหตุใหญ่ที่เป็นต้นตอของความยากแค้นของพวกเขาก็คือ สภาพสังคมที่เหี้ยมโหดในสังคมที่เหี้ยมโหด พวกเขา คือ ผู้แพ้ แต่ทว่าผู้คนมักมีทีท่าต่อปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ อย่างเย็นชา ล้วนมองว่าเป็นปรากฏการณ์ที่สุดแสนจะธรรมดา ดังนั้น คุณูปการของนวนิยายทั้งสองเรื่องนี้ก็คือ สะท้อนปัญหาความจริงที่มีอยู่ที่ถูกสังคมละเลยมองข้าม นอกจากนั้น นวนิยายทั้งสองเรื่องนี้ยังได้ส่งผลอย่างกว้างขวางต่อวงวรรณกรรมในขณะนั้นอีกด้วย วิทยานิพนธ์เล่มนี้ ได้อาศัยวิธีการอภิปรายเปรียบเทียบระหว่างนวนิยายสองเรื่องคนลากรถและคำพิพากษาซึ่งมีหัวข้อดังนี้ การเปรียบเทียบการประพันธ์ โดยจำแนกเป็นเบื้องหลังการประพันธ์ แนวคิดในการประพันธ์ บริบททางภาษาในการประพันธ์ นอกจากนั้นยังมีการเปรียบเทียบลักษณะของตัวละครเอกในด้านต่างๆ ได้แก่ เรื่องราวที่ตัวละครเอกทั้งสองต้องประสบลักษณะนิสัย และโชคชะตา อีกทั้งยังมีการเปรียบเทียบตัวละครประกอบทั้งสองเรื่อง และท้ายสุดเปรียบเทียบถึงคุณค่าที่มีต่อสังคมของนวนิยายทั้งสองเรื่อง ในการเปรียบเทียบในสี่ด้านใหญ่นี้ก็เพื่อแสดงให้เห็นถึงสิ่งที่นวนิยายเปิดให้เห็นถึงปัญหาสังคม และความเป็นมนุษย์ได้อย่างเต็มที่เพื่อยืนยันถึงคุณค่าที่นวนิยายสองเรื่องนี้มีต่อสังคม และชี้ให้เห็นถึงแนวคิดใหม่บางประการของผู้ประพันธ์ได้อย่างชัดเจนth
dc.description.abstractThe famous Laoshe's fiction "Pulling-Cart Man" and Chart Korjitti's fiction "The Sentence" are realism novels and both have worthy to study. The value of these novels reflected social phenomenon through tragedy relationship between individual and society. Main characters of both novels as lower worker class; they are suffering and hard to survive, and also they lie down under unfairness society among the frosty people in their community, they are 'loser'. This thesis was an attempt to comparison study of two novels. In this study consider four points to compare follows: firstly, writing style includes background, idea and conceptual, and language context. Secondly, the main characters in the stories consists characters with behaviors, fate, and their situations. Next, compared minor characters and finally, compared social value of the two novels. Thus, four of comparison shows an insight into the problems of social situation and mankind as reflected in the two novels.th
dc.description.abstract老舍先生的代表作品《骆驼祥子》与泰国作家查·勾吉迪的长篇小说《判决》都是值得研究探讨的现实主义小说。这两部小说的价值在于反映真实的社会现象,它们所反映的社会的现实就是由于社会畸形发展所引发的人性的扭曲从而产生的一系列的个人和社会的悲剧。《骆驼祥子》与《判决》这两部悲剧小说的主人公都是底层社会的劳动者,他们的悲剧不只是源于贫困的生活,残酷的社会现实才是他们艰难的最大因素,在残酷的社会中他们失败了,但这种现象往往被人们冷酷地对待,把它当成普通的现象,所以这两部小说对社会的贡献就在于反映这些真实存在的却被人们忽视的社会问题,而且对当时的文学界产生了广泛的影响。 本文通过讨论《骆驼祥子》与《判决》的创作比较即创作背景、创作思想、创作语境的比较,人物比较即主人公祥子与发的身世、性格、命运的比较, 其他人物之比较及社会学意义的比较四个方面,完全充分地展示了这两部小说所揭示的社会、人性等问题,肯定了这两部小说的重大社会价值,并提出了作者自己的一些新的想法和观点。-
dc.language.isozhth
dc.publisherHuachiew Chalermprakiet Universityth
dc.subjectวรรณกรรมจีน -- ประวัติและวิจารณ์th
dc.subjectChinese literature -- History and criticismth
dc.subjectวรรณคดีเปรียบเทียบth
dc.subjectComparative literatureth
dc.subjectวรรณกรรมไทย -- ประวัติและวิจารณ์th
dc.subjectThai literature -- History and criticismth
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาth
dc.subjectContent analysis (Communication)th
dc.subjectคนลากรถ (นวนิยาย) -- ประวัติและวิจารณ์th
dc.subjectคำพิพากษา (นวนิยาย) -- ประวัติและวิจารณ์th
dc.subject《骆驼祥子》th
dc.subject《判决》th
dc.subject中国文学 -- 历史与批评-
dc.subject比较文学-
dc.subject泰国文学 -- 历史与批评-
dc.subject内容分析-
dc.title《骆驼祥子》与《判决》小说比较研究th
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบนวนิยายเรื่อง "คนลากรถ" และนวนิยาย "คำพิพากษา"th
dc.title.alternativeA Comparative Study of Novels : " Pulling-Cart Man" and " the Sentence"th
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineวรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัยth
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf180.99 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf380.22 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf338.49 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf328.05 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf354.24 kBAdobe PDFView/Open
References.pdf369.59 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.