Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/599
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | 倪金华 | - |
dc.contributor.advisor | Ni, Jinhua | - |
dc.contributor.author | 王慧敏 | - |
dc.contributor.author | อมรรัตน์ ดีศรีวงศ์ | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-31T06:24:57Z | - |
dc.date.available | 2022-07-31T06:24:57Z | - |
dc.date.issued | 2013 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/599 | - |
dc.description | Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2013 | th |
dc.description.abstract | นวนิยายเรื่องสั้นของหลู่ซวิ่น "ตะโกนสู้" และนวนิยายเรื่องสั้นของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช "เพื่อนนอน" ต่างเป็นวรรณกรรมสมัยใหม่ที่ทรงคุณค่าแก่การศึกษาอย่างยิ่งของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและประเทศไทย หลู่ซวิ่นเป็นนักประพันธ์ นักคิด นักปฏิวัติที่มีชื่อเสียงของประเทศจีน ระหว่างปี ค.ศ. 1918-1922 ได้แต่งนวนิยายเรื่องสั้นรวม 14 เรื่อง รวบรวมเป็นหนังสือนวนิยายเรื่องสั้นชื่อ "ตะโกนสู้" หลู่ซวิ่นได้เขียนและพรรณนาอุปนิสัยของตัวละครเพื่อสะท้อนให้เห็นอุปนิสัยและแนวความคิดของชาวจีนในยุคที่เป็นทั้งกึ่งเมืองขึ้นและกึ่งศักดินา เพื่อให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อปลุกประชาชนที่ยังนอนหลับอยู่ให้ตื่นขึ้นมา และรู้จักปรับเปลี่ยนแนวความคิดใหม่ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนักประพันธ์ นักคิด นักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักการเมืองที่มีชื่อของประเทศไทย ท่านได้แต่งบทประพันธ์ไว้จำนวนมาก "เพื่อนนอน" เป็นนวนิยายเรื่องสั้นที่ท่านได้แต่งไว้ก่อนปีค.ศ. 1952 แม้เรื่องสั้นดังกล่าวจะไม่เป็นที่รู้จักทั่วไปดังเช่นบทประพันธ์เรื่องอื่นๆ แต่นับเป็นวรรณกรรมที่ทรงคุณค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง เรื่องสั้นแต่ละเรื่องมีความหมายลึกซึ้ง สะท้อนให้เห็นปัญหาของประเทศไทยภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลและข้าราชการที่ไม่มีศักยภาพก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ นานาประการ ชี้ให้ประชาชนมองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อหามาตรการแก้ไข ในวิทยานิพนธ์นี้ ผู้เขียนได้ศึกษาเปรียบเทียบชีวประวัติของนักประพันธ์ทั้งสองท่าน ประกอบกับตัวละครในนวนิยาย ตลอดจนแนวความคิดและศิลปะในการเขียนแล้ว เห็นว่าหลู่ซวิ่นและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช แม้จะอยู่คนละประเทศ ภายใต้ระบอบการปกครองและสังคมที่แตกต่างกัน แต่สิ่งที่ท่านทั้งสองเหมือนกันคือ ท่านทั้งสองได้ใช้วรรณกรรมเป็นเครื่องมือสะท้อนให้เห็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม ชี้ให้เห็นแนวความคิดที่ผิดๆ ของประชาชน เพื่อปลูกจิตสำนึกของประชาชน ให้รู้จักแก้ไขและปรับเปลี่ยนแนวความคิด ประชาชนมีจิตสำนึกและแนวความคิดที่ถูกต้อง จึงจะสามารถร่วมกันสร้างประเทศชาติที่มีความมั่นคงได้ ท่านทั้งสองต่างได้อุทิศตนเพื่อบำเพ็ญประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติอย่างใหญ่หลวง วรรณกรรมของท่านทั้งสองยังคงเป็นอมตะ มีคุณค่าในการศึกษาตลอดไปชั่วกาลนาน | th |
dc.description.abstract | "Call to arms", a short story by Luxan, and "Fellow Sleeper", a short story by Major General Mom Rachawong Kukrit Promoj, are modern literature. Theses two stories are important and valuable when studying Chinese and Thai literary works. Luxan is a Chinese who is famous for literature, his way of thinking, and his role in the revolution. Luxun created a collection of fourteen short stories called "Call to arms" from 1918-1922. Luxan wrote and described the personality and the nature of each character which reflects the nature and concepts of Chinese during the period when they were wrestling between the half colony and the half dignity systems. The main purpose of the story is to illustrate the problems, to raise consciousness, and to create campaigns for Chinese to adapt to new paradigms. Major General Mon Rachawong Kukrit Pramoj, a Thai, is famous for literature, as a thinker, philosopher, economist, and politicain. He composed many stories, including "Fellow Sleeper", a short story written before 1952. Although "Fellow Sleeper" is not as popular and well-known as his other stories, the story is a valuable literary work to study. Each short story has deep meaning and mirrors problems after the Thai revolution to the democratic system. The government and civil services who had no potential caused many problems. The story pointed out these problems to the population leading to solutions. In this thesis, the researcher compared autobiographies of the two writers, the characters in their stories, including concepts and their writing styles. In my opinion, the two writers who lived in different countries, under different government systems, and societies wrote literature reflecting social problems and inaccurate ideas in the populations of their separate countries to adjust and amend the population mind set in the correct manner. The cooperation of a population with the right position and concepts will build a more secure country. These two writers sacrificed for the benefit of their countries. Their literary works are valuable forever in the study of Chinese and Thai literature. | th |
dc.description.abstract | 鲁迅的短篇小说《呐喊》和蒙叻察翁克立‧巴莫的短篇小说《断臂村》,是中泰两国现代文学中十分重要的作品。鲁迅是中国现代著名的文学家、思想家、革命家,他在1918年至1922年所写的短篇小说集《呐喊》共收录小说十四篇,生动地描绘了当时中国的国民形象,反映了半殖民半封建时期中国人的封建思想,揭露了国民的弊病,藉以唤醒人民的醒觉,改造国民思想。 蒙叻察翁克立‧巴莫是泰国著名的文学家、思想家、哲学家、经济学家、政治家。他的著作很多,《断臂村》是他在1952年之前所写的小说集,共收入20篇短篇小说,在泰国虽然不是家喻户晓的著作,但它在文学界有很高的研究价值,他写的每一篇小说,都具有深奥的含义,反映泰国在实行民主立宪后的社会动态,政府及政治家的腐败,揭露弊端,呼唤人民的觉醒。 本论文通过对这两位作家的创作背景、人物塑造、思想主题与艺术手法进行比较总结,认为鲁迅先生和蒙叻察翁克里‧巴莫虽然处于不同的国家,不同的社会制度,但他们的共同点都是用文学来揭露社会的黑暗和国民思想上的弊病,唤醒国民正确的思想和认识,使国家及社会稳定。他们都对自己的国家做出了巨大的贡献,他们的作品已经成为文学经典,在中泰两国的文学界具有很高的研究价值。 | - |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | 鲁迅 | th |
dc.subject | Lu Xun | th |
dc.subject | หลู่ซวิ่น -- ประวัติและวิจารณ์ | th |
dc.subject | วรรณคดีเปรียบเทียบ | th |
dc.subject | Comparative literature | th |
dc.subject | เรื่องสั้นไทย -- ประวัติและวิจารณ์ | th |
dc.subject | Thai fiction -- History and criticism | th |
dc.subject | เรื่องสั้นจีน -- ประวัติและวิจารณ์ | th |
dc.subject | Chinese fiction -- History and criticism | th |
dc.subject | การวิเคราะห์เนื้อหา | th |
dc.subject | Content analysis (Communication) | th |
dc.subject | คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. -- ประวัติและวิจารณ์ | th |
dc.subject | Kukrit Pramoj, M.R. -- History and criticism | th |
dc.subject | 克立•巴莫 | th |
dc.subject | 《呐喊》 | th |
dc.subject | 《断臂村》 | th |
dc.subject | 比较文学 | - |
dc.subject | 泰国短篇小说 -- 历史与批评 | - |
dc.subject | 中国短篇小说 -- 历史与批评 | - |
dc.subject | 内容分析 | - |
dc.title | 鲁迅的《呐喊》与克立•巴莫的《断臂村》比较研究 | th |
dc.title.alternative | ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องสั้นของหลู่ซวิ่น “ตะโกนสู้” และเรื่องสั้นของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช “เพื่อนนอน” | th |
dc.title.alternative | A Comparative Study of Lu Xun's Short Story "Call to Arms" and M.R.Kukrit Pramoj's Short Story "Fellow Sleeper" | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
AMORNRATANA-DEESRIWONG.pdf Restricted Access | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.