Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/619
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรินทร์ บูรณะกร-
dc.contributor.authorHuang, Yuanyuan-
dc.date.accessioned2022-08-20T11:23:17Z-
dc.date.available2022-08-20T11:23:17Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/619-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2558th
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการแต่งกายกี่เพ้าของคนไทยเชื้อสายจีนในสังคมไทยและเพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมการแต่งกายกี่เพ้าในสังคมไทยโดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล และเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างด้วยวิจัยเอกสาร โทรทัศน์ เก็บข้อมูลภาคสนาม โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นคนไทยเชื้อสายจีนซึ่งเกี่ยวข้องกับการแต่งกายชุดกี่เพ้า จำนวน 54 คน และนำเสนอผลการวิจัยด้วยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะรูปแบบของชุดกี่เพ้าได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีทั้งแบบยาว แบบกลาง และแบบสั้น ความนิยมในการใส่ชุดำกี่เพ้าเปลี่ยนไปตามความคิดของคนในสังคม สีของชุดกี่เพ้า ในปัจจุบันคนไทยเชื้อสายจีนในสังคมไทยสามารถเลือกสีชุดกี้เพ้าสีใดก็ได้ ซึ่งสีหลักที่สืบทอดกันมาเป็นร้อยพันปี ไม่มีข้อห้ามเรื่องสีเหมือนในสมัยก่อน ความหมายของสีชุดที่เลือกใส่ยังสื่อความหมายเหมือนในสมัยก่อน ลายบนชุดกี่เพ้า ปัจจุบันสามารถใส่ลายใดก็ได้ ลวดลายที่เป็นลายหลักสามารถบอกฐานะ และความสำคัญของคนที่ใส่ได้ โอกาสในการใส่ชุดกี่เพ้าคือใส่ในงานสำคัญๆ ทางวัฒนธรรมของจีน ซึ่งวันเทศกาลหรือวันที่มีสิริมงคลของจีน การใส่ชุดกี่เพ้าได้เป็นส่วนหนึ่งของคนไทยเชื้อสายจีนที่ได้อนุรักษ์สืบทอดวัฒนธรรมการเป็นคนจีน และแสดงสัญลักษณ์ที่โดดเด่น เพื่อลูกหลานตนเอง และให้คนทั่วโลกได้รู้จักและเข้าใจในวัฒนธรรมของจีน ลักษณะการแต่งกายกี่เพ้าของคนไทยเชื้อสายจีนในสังคมไทยจึงเป็นการรักษา อนุรักษ์ และสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของโลกไว้ด้วย การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมการแต่งกายกี่เพ้าในสังคมไทย เนื่องจากด้านรูปแบบ ด้านสี ด้านลวดลาย และด้านโอกาสในการใส่มีการเปลี่ยนแปลงยังมีปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมการแต่งกายกี่เพ้าในสังคมไทยด้วยปัจจัยด้านเศรษฐกิจและปัจจัยด้านสังคม ทำให้มีความรู้สึกความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมการแต่งกายกี่เพ้าในสังคมไทย และมีข้อเสนอแนะแนวทางในการอนุรักษ์และรักษาวัฒนธรรมการแต่งกายกี่เพ้าในสังคมไทยth
dc.description.abstractThis thesis aims to study the quality of Qipao dressing style of Thai-Chinese people in Thailand, and to analyze the changes of cheongsams dressing culture in Thailand. The questionnaires and interviews were used as a research tools to collect the data that related to the cheongsams dressing. The samples were 54 Thai-Chinese people in Thailand. The results showed that cheongsams dressing of Chinese-Thai in Thailand are continuing to be develop in terms of design, color, pattern, and dressing occasion. Dresses are both long and short. The popularity of Cheongsam (Qipao) dressing is changed according to people's attitudes in the society. Regarding the color of Cheongsam (Qipao), in the present time, Thai-Chinese people are able to wear Cheongsam (Qipao) in any color such as gold, yellow, red, blue, etc. and there is no prohibition of color as in the past. However, the meaning of the color they wear remains same as in the past. The design of the Cheongsam (Qipao) is same as color that people are able to wear any design of Cheongsam (Qipao) as dragon. swan, peony, etc. The design of Cheongsam (Qipao) is able to indicate the status and the importance of the person who wears. The occasion to wearing the Cheongsam (Qipao) is the important ceremonies in Chinese cultures. For example, New Year's Day, wedding ceremony, vegetarian festival, etc. Cheongsam (Qipao) dressing is a part of Thai-Chinese people's way which is conserved and relayed the state of being Chinese and outstanding identity to their descendants and people over the world to learn and understand Chinese Culture, Qipao Dressing Character of Thai-Chinese people in the society preserves and carries on the world's cultural heritage. The culture of dressing cheongsams in Thailand was changed because the patterns, the colors, the textures and the chances to enter the dress. Also, there are factors affected the dynamics of cultural dress cheongsams in Thailand including economic factors and society factors. Causes the proud on cheongsams culture in Thailand, and offers comments on conservation and sustain the cultural preservation dress cheongsams in Thai society.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectการแต่งกาย -- อิทธิพลจีนth
dc.subjectกี่เพ้า.th
dc.subjectคนจีน -- ไทยth
dc.subjectChinese -- Thailandth
dc.subjectDressingth
dc.titleลักษณะการแต่งกายกี่เพ้าของคนไทยเชื้อสายจีนในสังคมไทยth
dc.title.alternativeQipao Dressing Style of Thai-Chinese People in Thailandth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สองth
Appears in Collections:Liberal Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
HUANG-YUANYUAN.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.