Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/637
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิดา โมสิกรัตน์-
dc.contributor.authorLiu, Sunyue-
dc.date.accessioned2022-08-27T06:51:04Z-
dc.date.available2022-08-27T06:51:04Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/637-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2558th
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาของสารคดีที่ได้รับรางวัลแว่นแก้ว ปี พ.ศ. 2553-2556 จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ พวกเราแปลงร่างได้ (2553) ชีวิตศิษย์วัด (2553) เมื่อฉันลงมือปลูกต้นไม้ (2553) เกิดเป็นเด็กฉลาด (2553) วัยใสหัวใจโซน (2554) ใครๆ ก็เคยยี่สิบ (2554) จากยายอีสานถึงหลานฝรั่ง (2555) และหนูน้อยหัวใจพิราบแข่ง (2556) และนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า เนื้อหาสารคดีที่ได้รับรางวัลแว่นแก้ว ปี พ.ศ. 2553-2556 แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ประเภทแรกเป็นสารคดีที่ให้ความรู้เชิงวิชาการ ซึ่งนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ในด้านต่างๆ ได้แก่ ความรู้ชีววิทยาเกี่ยวกับชีวิตสัตว์ชนิดต่างๆ ความรู้ภูมิปัญญาการเกษตรของภาคใต้ เกี่ยวกับการแนะนำวิธีการปลูกต้นไม้และการดูแลธรรมชาติ ความรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวอีสาน ในด้านวิถีชีวิต ประเพณี อาหารการกิน การทำเครื่องนุ่งหุ่มและของใช้ประจำวัน และความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก ความรู้เกี่ยวกับศิลปะการแสดงโขน ในด้านความเป็นมา วิวัฒนาการ และลักษณะการแสดงโขน และความรู้เกี่ยวกับบุคคลสำคัญของโลกจำนวน 25 คนที่ประสบความสำเร็จและไม่ประสบความสำเร็จเมื่ออายุ 20 กว่า ประเภทที่สอง เป็นสารคดีเล่าประสบการณ์ มีเนื้อหาที่นำเสนอประสบการณ์ชีวิตในวัยเด็ก ได้แก่ การเลี้ยงนก การดำเนินชีวิตในชุมชนตลาด กิจวัตรประจำวันที่โรงเรียนและการเป็นลูกศิษย์วัด สารคดีที่ได้รับรางวัลแว่นแก้ว ปี พ.ศ. 2553-2556 มีคุณค่าในด้านความรู้ แง่คิดและความเพลิดเพลินโดยผู้เขียนใช้ภาษาและสำนวนโวหารที่เหมาะสมกับเรื่องราว ใช้กลวิธีการเขียนที่ได้ถ่ายทอดความรู้ข้อเท็จจริงและความเพลิดเพลิน ซึ่งช่วยส่งเสริมการอ่านให้แก่เยาวชนth
dc.description.abstractThis research has the purpose to analyze the content of 8 Wan Kaew award-winning non-fictions during 2010-2013: Puak Rao Plang Rang Dai (2010), Cheevit Sit Wat (2010), Mua Chan Long Mue Plook Ton Mai (2010),, Kerd Pen Dek Talad (2010), Wai Sai Hua Chai Khon (2011) and Nu Noi Hua Chai Pirab Kheng (2013) and present the research result in descriptive analysis. The research finds that Wan Kaew award-winning non-fictions during 2010-2013 could be divided into 2 catagories. The firts category is non-fictions that give present the content about different academic knowledge relating to biology of animals, agricultural intelligence of Southern Thailand, recommendation for planning and environmental conservation. And give the knowledge of lifestyle and culture of E-Sarn, such as tradition of food and dinning, clothing and daily supplies. Moreover, they also present the art of Khon about its history and evaluation. And give the knowledge about 25 important persons in the world. The second category is the non-fictions give us experiences. The content presents the experiences of childhood life. Include feeding birds living in marketing community daily school life and to be a student in temps. The writer creats stories with different level of language use of various styles that consists with stories and relay knowledge and interest from real that help to enrich children's reading. All of these make the Wan Kaew award-winning non-fictions during 2010-2013 are valuable on giving knowledge standpoint and interests.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectสารคดีth
dc.subjectรางวัลแว่นแก้วth
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาth
dc.subjectContent analysis (Communication)th
dc.titleการวิเคราะห์สารคดีที่ได้รับรางวัลแว่นแก้ว ปี พ.ศ. 2553-2556th
dc.title.alternativeThe Analysis of Wan Kaew Award-Winning Non-Fictions during 2010-2013th
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สองth
Appears in Collections:Liberal Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
LIU SUNYUE.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.