Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/683
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor王建设-
dc.contributor.advisorหวัง, เจี้ยนเซ่อ-
dc.contributor.advisorWang, Jianshe-
dc.contributor.author覃旭玲-
dc.contributor.authorวสุมดี สถานดี-
dc.date.accessioned2022-09-05T04:09:25Z-
dc.date.available2022-09-05T04:09:25Z-
dc.date.issued2012-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/683-
dc.descriptionThesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2012th
dc.description.abstractนวนิยายเรื่อง "สี่แผ่นดิน" ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช และเรื่อง "สี่รุ่นร่วมเรือน" ของเหลาเส่อ ล้วนเป็นผลงานเชิงอัตถนิยมชิ้นเอก แม้ว่าผลงานทั้งสองเรื่องจะประพันธ์โดยกวีที่ต่างเชื้อชาติ แต่สิ่งที่ร่วมสมัยกัน ก็คือ การดำเนินชีวิตภายใต้กรอบแนวคิดของสังคมในช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ดังนั้น จึงนำผลงานทั้งสองเรื่องมาศึกษาเปรียบเทียบเพื่อให้เข้าใจลึกซึ้งถึงความเหมือน และความแตกต่างของวิถีชีวิตผู้คนท่ามกลางรอยต่อวัฒนธรรมทางสังคมที่สะท้อนออกมาในรูปของวรรณกรรม วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบสามด้านหลักๆ ของวรรณกรรมทั้งสองเรื่อง โดยบทที่หนึ่ง วิเคราะห์เปรียบเทียบอัตชีวประวัติผู้แต่ง มุมมอง และแนวคิดสำคัญ ซึ่งภูมิหลังผลงานทั้งสองเรื่องได้ประพันธ์ขึ้นภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีการปฏิรูปทางสังคมและประวัติศาสตร์ ถึงแม้ผู้ประพันธ์ทั้งสองจะเขียนเล่าถึงเหตุการณ์สงครามก็ตาม แต่มิได้กล่าวถึงความน่าเวทนาของสงครามโดยตรง ทว่าสะท้อนผ่านการดำเนินชีวิตของผู้คน แสดงถึงแนวคิดและทัศนคติที่ปรากฏในเรื่อง บทที่สองงวิเคราะห์เปรียบเทียบภาพลักษณ์ของตัวละครในด้านแนวคิดและลักษณะนิสัยภายใต้อิทธิพลของสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน แต่กลับมีความเหมือนกันในช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม บทที่ 3 วิเคราะห์เปรียบเทียบความโดดเด่นด้านการใช้ภาษา การสร้างภาพลักษณ์ตัวละคร และเทคนิคการประพันธ์ ซึ่งผลงานทั้งสองเรื่องต่างก็มีความเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวโดยเฉพาะเรื่องของภาษา อาทิ เรื่อง "สี่รุ่นร่วมเรือน" ของเหลาเส่อ ได้ใช้คำอุปมา อุปไมยและภาษาท้องถิ่นสื่อถึงอารมณ์ขัน ส่วนเรื่อง "สี่แผ่นดิน" ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช แม้ว่าจะไม่มีการใช้คำอุปมาอุปไมย และวลีมากดังเรื่อง "สี่รุ่นร่วมเรือน" แต่ก็มีความโดดเด่นในการใช้ภาษาท้องถิ่นไทยที่เรียบง่าย ซึ่งสร้างความประทับใจให้กับผู้อ่านเป็นอย่างมาก เนื่องด้วยภูมิหลังการศึกษา วิถีชีวิต และแนวคิดของผู้ประพันธ์แตกต่างกัน จึงส่งผลให้การสร้างภาพลักษณ์ตัวละครและเทคนิคการประพันธ์มีความต่าง แต่ในความต่างก็ยังคงมีความเหมือนที่ร่วมสมัยแทรกอยู่ในช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมth
dc.description.abstractBoth The Four Dynasties, one of novels written by M.R. Kukrit Promoj and The Yellow Storm, one of novels written by Lao She are autobiography masterpieces. Although both of them were written in different country, they has the same living situation and people's attitude in the changing period of social and history. So we can compare both novels for understanding the similarities and differences of people in the changing period of social history. This research compares and analyzes three main sides of both novels. Chapter I is about analysis the autobiography, point of view and thoughts. Both novels were written under the background of the social revolution history. Both novelists describes about war, but they didn't the tell the sadness of war directly. They showed through the lifestyle of people, war and attitude. Chapter II is about the analysis and compare the thought and habit of the characters under the influence of different lifestyle. But they had one similarity, the period of revolution on social history. Chapter III is about the analysis and compare the outstanding usage of language, the creation of character and writing style. Both of them have their own style, especially in language. The language in The Yellow Storm shows the sense of humor of Lao She which shows the sense of humor by using proverbs and dialect. On the other hand, the language in The Four Dynasties had not much proverbs and phrases like The Yellow Storm. But The Four Dynasties had full of the specialty of Thai dialect which impressed the readers. Because of the differences of educational background, lifestyle and novelists' attitude, there are some differences and similarities in character and writing style.th
dc.description.abstract克立·巴莫的《四朝代》和老舍的《四世同堂》都是现实主义作品的杰出代表。虽然两部作品描写的国度不一样,但是两部作品都描写了普通百姓,在社会和历史的转折时期的生活和思想状况。所以可以将两部作品进行比较研究,以便能够更清楚地了解两国人民在社会历史转折时期在生活态度和思想意识方面的异同点。 本文主要从三个方面对两部作品进行比较研究。论文第一章将分别从创作背景、创作视角、思想内容等三个方面对两部作品的创作进行比较研究:两部作品都是处在社会历史变革的大的社会环境背景下创作的,反映的都是百姓在变革中的日常生活情况;两位作者在作品中也都写到了战争,但是作者都没有从正面写战争的惨烈,而是通过描写百姓在日常生活中的反映来表现战争,表达作者的思想和观点。论文第二章将对两部作品中的主要人物进行比较研究,从而找出其在不同生活环境的影响下,面对同样的社会历史转折,在思想和性格方面的异同点。第三章主要从作品的语言特色、人物塑造和叙事方法等三方面进行文本的比较研究。两部作品各有自己的特色,特别是语言方面,《四世同堂》的语言,依然是老舍式的幽默,而且运用了很多修辞手法以及方言土语来达到这种幽默的效果。《四朝代》的语言虽没有《四世同堂》那样以繁多的修辞和短句来表现,但是语言也充满了泰国本土特色,朴实淳厚的语言也给人以深刻的印象。在人物塑造和叙事方法方面,由于作者教育背景、生活背景以及思维方式的不同,而有所差异,但在差异中也有一些相同之处。但愿本文的比较研究能对人们有所裨益。-
dc.language.isozhth
dc.publisherHuachiew Chalermprakiet Universityth
dc.subjectวรรณคดีเปรียบเทียบ-
dc.subjectComparative literature-
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหา-
dc.subjectContent analysis (Communication)-
dc.subjectคึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.-
dc.subjectเหลาเส่อ-
dc.subjectสี่แผ่นดิน -- ประวัติและวิจารณ์-
dc.subjectสี่รุ่นร่วมเรือน -- ประวัติและวิจารณ์-
dc.subject比较文学-
dc.subject内容分析-
dc.subject克立 . 巴莫, M.R.-
dc.subject老舍-
dc.subjectLao She-
dc.title克立・巴莫《四朝代》与老舍《四世同堂》之比较研究th
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบนวนิยายเรื่อง “สี่แผ่นดิน” ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และ “สี่รุ่นร่วมเรือน” ของเหลาเส่อth
dc.title.alternativeA Comparative Study of M.R Kukrit Phamoj's Fictional Story, the Four Dynasties and Laoshe's the Yellow Stormth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineวรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัยth
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.pdf842.19 kBAdobe PDFView/Open
table of content.pdf329.79 kBAdobe PDFView/Open
chapter1.pdf602.76 kBAdobe PDFView/Open
chapter2.pdf
  Restricted Access
521.39 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
chapter3.pdf
  Restricted Access
607.82 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
Reference.pdf371.15 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.