Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/690
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | 纪秀生 | - |
dc.contributor.advisor | Ji, Xiusheng | - |
dc.contributor.author | 赖燕芬 | - |
dc.contributor.author | ปภาดา ทวีอักษรพันธ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-05T06:08:20Z | - |
dc.date.available | 2022-09-05T06:08:20Z | - |
dc.date.issued | 2016 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/690 | - |
dc.description | Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2016 | th |
dc.description.abstract | การศึกษาประวัติวรรณกรรมไทยร่วมสมัย หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวจีนจำนวนหนึ่งได้อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย คนหนุ่มสาวชาวจีนที่อพยพเข้ามาในครั้งนี้ หลายๆ คนได้เข้าร่วมในวงการวรรณกรรมจีนในไทย "หนีฉางโหยว" ก็เป็นหนึ่งในจำนวนนักเขียนไฟแรงกลุ่มนี้ บทความนี้ศึกษาเส้นทางวรรณกรรมของ "หนีฉางโหยว" โดยศึกษาแนวคิด ทัศนติ และศิลปะการประพันธ์ ผ่านวิธีการวิเคราะห์วิจารณ์จากแก่นเรื่อง ฉาก ท้องเรื่อง และบทสนทนาของตังละค เผยให้เห็นแนวคิด ค่านิยมทางสังคม และคุณค่าของงานเขียนของ "หนีฉางโหยว" ในปี ค.ศ. 1946 "หนีฉางโหยว" ขณะอายุได้ 19 ปี อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1952 เขาเริ่มมุ่งสู่ถนนสายวรรณกรรม จึงเป็นการเปิดโอกาสให้เขาได้ถ่ายทอดเรื่องราวของชนชั้นระดับล่างให้สังคมได้รับรู้ นวนิยายของ "หนีฉางโหยว" ส่วนใหญ่จะสะท้อนสภาพของสังคมชาวจีนในไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมชนชั้นระดับล่างเป็นหลัก เขาชำนาญในการนำวิถีการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้คนในสังคมมาเป็นข้อมูลในการสร้างสรรค์ผลงาน นวนิยายของเขามีหลากหลายแนวคิดซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่ พฤติกรรมการหลอกลวงในสังคม ผลกระทบจากการพนันประเพณีนิยมที่เสื่อมเสีย ตำนานเทพนิยาย และอื่นๆ อีกหลายแนว ผลงานของ "หนีฉางโหยว" มีทั้งการวิพากย์สังคมด้านมือที่เลวร้าย และเพรียกหามโนธรรมจากมนุษยชาติในสังคม ในด้านศิลปะการประพันธ์ "หนีฉางโหยว" มีความเชี่ยวชาญในการเขียนแนวเสียดสีสังคมเผยให้เห็นถึงแก่นแท้ของผู้คนในสังคม การปิดเรื่องมีหลากหลายรูปแบบ ในด้านศิลปะการใช้ภาษา ผู้เขียนนิยมใช้ภาษาถิ่น (แต้จิ๋ว) และทับศัพท์สำเนียงภาษาไทย ซึ่งถือเป็นเสน่ห์ทางภาษาในงานเขียนของเขา จนได้รับความชื่นชอบ ความสนใจ การตอบรับจากนักอ่านทั้งในและต่างประเทศ การศึกษาสรุปได้ว่า ผลงานของ "หนีฉางโหยว" สะท้อนให้เห็นถึงสถานการณ์ทางสังคมในประเทศไทย แสดงให้เห็นถึงการหลอมรวมของประเทศไทยจีน เผยให้เห็นถึงเอกลักษณ์ของสังคมชาวจีนในไทย อาจกล่าวได้ว่าผลงานของเขาถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของความสัมพันธ์ของทั้งสองชาติ และยังมีบทบาทชี้นำทางความคิดบนความหลากหลายของมนุษย์ในสังคมอีด้วย | th |
dc.description.abstract | From the study of modern literature history in Thailand after the World War II, a large numbers of Chinese people migrated to Thailand in order to make for living. Some young people joined the group of Thai-Chinese literacy. "Ni Chang You" was one of this young active group. This research was focused on Ni Chang You's literacy path. The main feature of his ideological content and artistic creation were studied. In this paper, the analysis and appreciation methods through the novel plot including environment and life character expositions were described. The theme of the novel, the appreciation of the social value and the aesthetic value were revealed. In 1946, "Ni Chang You" immigrated to Thailand when he was 19 years old. In 1952, he embarked on the path of literature and was offered an opportunity to pass on his life experience on his own literature. The theme of the story in his novel largely reflected the transformation of Chinese society in Thailand, especially in the lower social classed. The creation of his work was inspired by the daily life of people during that period of time. His work was focused on deception, gambling, traditional derogatory, myth and others. In the theme of ideology, he criticize the dark side of the society and also how it was deteriorate, but the same time, was seeking for the conscience of the humanity. In the art of writing, he specialized in using satire to reflect social reality with well-designed novel ending. In the art of language, he inserted both Chinese dialect and Thai language in his novels rendered the readers both inside and outside the country paid more favor, attention and response to his works. In the present study, it could be concluded that his works reflected various good relationships among Chinese and Thai in Thailand, for example, social situation, fusion cultures, and characteristics expression. His works were considered to be the important cultural heritage of Chinese-Thai relationship and also had the influence in the mindset of the people in the society. | th |
dc.description.abstract | 从泰国现代文学史上看,二战后,大批中国人移居来泰谋生,这批有为青年投身泰华文坛,倪长游就是这批泰华文坛的青年活跃作者之一。 本文着重对倪长游的文学创作道路、其创作的主要思想内容与艺术特征进行研究。本文采用分析、鉴赏的方法,通过对倪长游小说的情节、环境及人物性格的分析阐述,揭示了小说的主题思想,鉴赏了小说的社会价值与审美价值。 倪长游在 1946 年 19 岁时,移居来泰谋生。到了 1952 年,他开始走上文坛创作道路,有了书写人生经验的机会。倪长游的小说思想内容大多数反映泰华社会的动态,尤其是以低层人物为主,善于从平淡的日常生活中发掘题材。他的形形色色作品在内容上主要描写的是欺骗诓世、赌钱博彩、陋俗与世风、神怪传奇与其他故事等。在主题思想上,批判与重建并重,既有对社会黑暗与丑恶的批判,也有对美好人性和良知的呼唤。在艺术上,倪长游擅长于用讽刺手法来反映社会现实生活,精心设计各种小 说结局,在语言上善于插入潮语于泰语中,在他的小说上表现了方言的魅力,获 得国内外读者的赞赏、欢迎与重视。 总之,倪长游的小说体现了泰国的社会状况,揭示出中泰融合的风俗画,反映了泰华文学的特性,它是中泰关系文化遗产的表征,他的创作思想对社会各种人在思想上都有启迪作用。 | - |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | หนี, ฉางโหยว | - |
dc.subject | Ni, Chang You | - |
dc.subject | 倪长游 | - |
dc.subject | เทพนิยาย -- จีน | - |
dc.subject | Fairy tales -- China | - |
dc.subject | การวิเคราะห์เนื้อหา | - |
dc.subject | Content analysis (Communication) | - |
dc.subject | 内容分析 | - |
dc.subject | 童话 -- 中国 | - |
dc.title | 倪长游小说创作探析 | th |
dc.title.alternative | การศึกษานวนิยายของหนีฉางโหยว | th |
dc.title.alternative | The Exploration on Novels of Ni Chang You | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | วรรณคดีจีนสมัยใหม่เเละร่วมสมัย | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PAPHADA-TAWEEAKSORNPHUN.pdf Restricted Access | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.