Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/698
Title: 泰国不同年龄段汉语初学者的一级元音实验研究
Other Titles: การวิจัยทางด้านการออกเสียงสระขั้นพื้นฐานภาษาจีนโดยแบ่งช่วงอายุของผู้เริ่มเรียนในประเทศไทย
Acoustic Experimental Research of First Level among Beginners of Various Ages Vowels Acquisition in Central Thailand
Authors: 肖瑜
Xiao, Yu
王碧蔚
Wang, Biwei
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
Chinese language $x Study and teaching (Primary)
汉语 -- 学习和教学 (小学)
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
Chinese language -- Study and teaching (Secondary)
汉语 -- 学习和教学 (中学)
ภาษาจีน -- บทสนทนาและวลี
汉语 -- 对话和短语
Chinese language -- Study and teaching -- Foreign speakers
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน -- ผู้พูดภาษาต่างประเทศ
汉语 -- 学习和教学 -- 中级教程
ภาษาจีน -- การออกเสียง
汉语 -- 发音
China language -- Pronunciation
สัทศาสตร์ (ระดับเสียง)
Intonation (Phonetics)
语音学 -- 声级
Issue Date: 2018
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: 本文以元音格局理论, 对比分析理论为基础, 使用对比分析法和实验语音学的方法对泰国基础元音和中国7个一级元音进行对比分析, 简单归纳中泰语基础元音的异同. 在泰国罗勇易三仓学校和曼谷华侨大学周末汉语班选取不同年龄段的汉语初学者为录音对象, 将这些实验对象按年龄分为小学, 中学, 中年, 老年四个组, 采集每一个实验对象7个汉语一级元音发音的录音样本, 运用Praat语音软件分析, 绘制一级元音舌位图. 通过图表和数据用实验语音学的方法对泰国这两所学校不同年龄段的汉语初学者7个汉语一级元音的发音偏误, 习得, 舌位高低前后进行分析. 通过实验可以看出不论年龄大小跟性别关系, 由于母语, 年龄, 学习时间等因素的影响, 实验对象一级元音发音呈现出规律性的差异. 四个组掌握程度最高的是元音[i];[u]在泰语中有相似元音, 掌握情况相对较好;[a]在泰语中有相似元音, 但相似程度低于[i]和[u], 因此[a]的发音在各个组别中不稳定;元音[ɤ]在中泰语中有多个类似元音, 非常不稳定. [ɿ], [ʅ], [y]三个元音在泰语中没有类似发音, 口型, 舌位跟泰语中的发音比较起来差别较大, 因此在各个组别中掌握程度呈现出一些年龄跟性别上的规律. 最后根据这些总结的规律差异结合笔者的一些教学实践提出教学建议和对策, 以期能对泰国不同年龄段的汉语初学者一级元音教学提供一些帮助.
งานวิจัยนี้ผู้วิจัยทำการทดลองโดยใช้ทฤษฎีโครงสร้างสระและทฤษฎีการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ประชากรกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เรียนในภาคกลางของประเทศไทยที่มีอายุแตกต่างกัน ซึ่งเพิ่มเริ้มต้นเรียน ภาษาจีนมาเป็นระยะเวลา 3-5 เดือน แต่ไม่เกิน 40 ชั่วโมง จำนวน 24 คน โดยแบ่งผู้เรียนเป็น 4 กลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 1 เป็นผู้เรียนในระดับประถมศึกษา จำนวน 6 คน เป็นชาย 3 คน หญิง 3 คน จากโรงเรียนอัสสัมชัญ จังหวัดระยอม กลุ่มที่ 3 เป็นผู้เรียนวัยทำงาน ช่วงอายุ 30-50 ปี จำนวน 6 คน เป็นชาย 3 คน หญิง 3 คน จากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ กลุ่มที่ 4 เป็นผู้เรียนที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 6 คน เป็นชาย 3 คน หญิง 3 คน จากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ผู้วิจัยได้ทำการทดลองบันทึกเก็บตัวอย่างการออกเสียงสระพื้นฐานภาษาจีน สระเดี่ยว 7 เสียง (โดยให้ออกเสียงในแต่ละสระซ้ำกัน 2 ครั้ง) ในกลุ่มดังกล่าวแล้ว จึงนำมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์การออกเสียง Praat และการวิเคราะห์ด้วยสัทศาสตร์การทดลองในการออกเสียงผิดเพี้ยนในระดับการวางตำแหน่งลิ้นของกลุ่มประชากรที่ทำการทดลองในการออกเสียงสระพื้นฐานภาษาจีน และนำมาเปรียบเทียบกับการออกเสียง และการวางตำแหน่งลิ้นของคนจีนที่พูดได้ถูกต้องตามมาตรฐานการพูดภาษาจีน เพื่อวิเคราะห์ผู้เรียนในทุกวัยที่เริ่มเรียนภาษาจีนในภาคกลางของประเทศไทย ที่ออกเสียงสระพื้นฐานภาษาจีนไม่ถูกต้อง เนื่องมาจากความเคยชินของการวางตำแหน่งลิ้น จากการดำเนินการตามกฎของการวิเคราะห์ และแผนภูมิที่ผ่านการทดลองประมวลรวมกับประสบการณ์การสอนของผู้วิจัย จึงสรุปข้อมูลเพื่อนำเสนอวิธีการสอนและการจัดการกับสถานการณ์ การสอนของกลุ่มประชากรตัวอย่างในแต่ละวัย ผลการวิเคราะห์ของกลุ่มประชากรที่ทำการทดลองในการออกเสียงสระพื้นฐานภาษาจีน (สระเดี่ยว 7 เสียง) ด้วยการแบ่งสระออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ สระพื้นฐาน ภาษาจีนตังที่ 1 [i] กลุ่มประชากรที่ทำการทดลองทุกกลุ่มสามารถวางตำแหน่งลิ้นและออกเสียงได้อย่างถูกต้อง สระพื้นฐานภาษาจีนตัวที่ 2[u] กลุ่มประชากรที่ทำการทดลองมีปัญหาในการวางตำแหน่งลิ้นและการออกเสียง จึงสามารถออกเสียงได้บ้างบางส่วนประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ สระพื้นฐานภาษาจีนตัวที่ 3 (a) เนื่องด้วยเสียงสระตัวนี้มีเสียงที่คล้ายกับสระในภาษาไทยประมาณ 2 เสียง จึงเกิดปัญหาในการออกเสียง โดยจะออกเสียงเป็นภาษาไทยในทุกกลุ่มประชากรที่ทำการทดลอง จึงควรเพิ่มความระมัดระวังการสอน ในสระตัวนี้ สระพื้นฐานภาษาจีนตัวที่ 4 [ɤ] เป็นสระที่ออกเสียงคล้ายกับสระในภาษาไทยหลายตัวเพียงแต่ออกเสียงต่างกันเล็กน้อย ทำให้สับสนในการออกเสียง จึงมีปัญหาออกเสียงไม่ถูกต้องเลยในกลุ่มประชาการที่ทำการทดลองสระพื้นฐานภาษาจีนตัวที่ 5-7 [y], [ɭ] [˥] เป็นสระที่ออกเสียงไม่เหมือนหรือคล้ายกับสระในภาษาไทย จึงเกิดปัญหาการออกเสียงที่สามารถออกเสียงได้บ้างในบางสระและออกเสียงไม่ได้เลย ในทุกกลุ่มประชากรที่ทำการทดลอง
Using the method of Comparative Analysis and Experimental Phonetics, this thesis makes comparison between Thai basic vowels and sever First level Chinese vowels on the basis of Vowel Pattern Theory amd Comparison Analysis Theory to make simple inducation of their similarities and differences. For this thesis, using the method of Acoustical Experimental and Comparative Analysis, choose 24 beginners who had studied Chinese for about 3-5 months at the Huachiew University and Assumption College Rayong in central Thailand. These experimental subjects were divided into four different age groups : elementary school, middle school, middle-aged, and elderly. With the use of Praat speech software to analyse the pronunication of First level Chinese vowels by these four different age groups by comparing pictures of vowel tongue map. The main reasons for the Chinese beginner's errors of second language are L1 tranfser, age, gender etc. The result of the experiments show that for different age groups, the process of Chinese First level vowels is unstable. The peak vowel [i] which is well-leanined in the study for all age groups, is influenced by a similar Thai vowel. The vowels [u] and [a] are similar to the Thai vowels but there are weak compared vowel [i]. Therefor, vowels [u] and [a] are more difficult to learn than [i]. The vowel [ɣ] is similar to mant vowels in Thai so the vowel [ɤ] has the most unstable pronunication. There three vowels [y], [ɭ] and [˥], have no similar pronunciations in Thai. As a result, most Chinese beginners are unable to pronounce them well. Fianlly, based on such differences in law coupled with teaching practice, my thesis aims to offer suggestions and countermeasures in teaching First level Chinese vowels to Thai students of different ages more effectively.
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2018
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/698
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WANG-BIWEI.pdf
  Restricted Access
5.41 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.