Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/702
Title: | 汉泰动物成语对比分析及教学策略 |
Other Titles: | การวิเคราะห์เปรียบเทียบสำนวนที่เกี่ยวกับสัตว์ในภาษาจีนและภาษาไทย เพื่อใช้ในการเรียนการสอน Research and Analysis of Chinese and Thai Animal Proverbs for Teaching Purposes |
Authors: | 李超 Li, Chao 谢炎哲 Xie, Yanzhe |
Keywords: | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน Chinese language -- Study and teaching 汉语 -- 学习和教学 สัตว์ Animals 动物 สุภาษิตและคำพังเพยจีน Proverbs, Chinese สุภาษิตและคำพังเพยไทย Proverbs, Thai 泰国谚语和格言 中国谚语和格言 |
Issue Date: | 2017 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | 泰国是中国的邻国, 中国和泰国是一直保持友好的邦交. 近年来由于对外贸易的增多以及对旅游的狂热, 越来越多的人开始学习汉语, 但是由于两国的文化背景, 生活习性, 风俗习惯上的差异, 使得两国学者在成语运用上容易受到母语的影响. 而动物和人类都是自然界生物链中的一环, 共同维持平衡的生态环境. 动物与人类的关系从进化的历史看, 各类动物都比人类出现得早, 人类是动物进化的最高级阶段, 从这个意义上说, 人类生活所需要的一切都直接或间接地与动物有关, 动物为人类生活提供了丰富的物质资源, 丰富的动物资源是大自然赐给人类的物质宝库. 由于两国的社会背景, 思维方式和风俗习惯不同, 对动物的感受和联想不尽相同, 汉泰动物成语的概念意义与比喻意义等方面也有所差异. 语义差异反映了各自的文化特色, 也导致泰国学生在学习汉语动物成语时容易受母语影响而产生偏误. 本文通过从汉泰动物成语的对比分析考察汉泰动物成语的文化差异, 喻体和喻义之间的语义对应关系研, 究探索汉泰动物成语对对外汉语教学的实践应用. 希望能促进两国学习语言的学者了解汉泰语动物成语的特点, 规律及其文化内涵, 进而更好地学习汉泰动物成语, 为两国学者对成语的理解能力, 运用能力和文化交流提供借鉴. ประเทศไทยเป็นประเทศเพื่อนบ้านของจีน มีมิตรสัมพันธ์ไมตรีที่ดีต่อกันมาโดยตลอด หลายปีมานี้กระแสความนิยมในการท่องเที่ยวและการค้าระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้น นับวันยิ่งมคนสนใจเรียนภาษาจีนมากขึ้น แต่เนื่องจากความแตกต่างด้านประเพณี วัฒนธรรม และวิถีการดำรงชีวิตของทั้งสองประเทศ ทำให้นักศึกษาของทั้งสองประเทศได้รับผลกระทบจากการใช้คำสำนวนในภาษาของตนเองในการดำรงชีวิตของสัตว์และมนุษย์นั้น ล้วนเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่ทางชีวภาพของธรรมชาติร่วมกัน เพื่อรักษาความสมดุลของสภาพแวดล้อมในระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสัตว์และมนุษย์ จากวิวัฒนาการความสัมพันธ์ระหว่างสัตว์กับมนุษย์นั้น สัตว์ประเภทต่างๆ เหล่านี้มีกำเนิดขึ้นมาก่อนมนุษย์ มนุษย์เป็นระยะขั้นสูงสุดของวิวัฒนาการของสัตว์ ที่กล่าวมานี้ คือ การดำรงชีวิตของมนุษย์ทั้งหมดล้วนเกี่ยวข้องกับสัตว์ทั้งโดยตรงและทางอ้อม ถ้าหากไม่มีสัตว์ มนุษย์ก็จะไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ สัตว์คือแหล่งทรัพยากรที่ช้วยเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณ์แก่มนุษย์ แหล่งทรัพยากรของสัตว์ที่อุดมสมบูรณ์ คือ ขุมทรัพย์ทางทรัพยากรที่ได้ให้แก่มนุษย์ ดังนั้น สัตว์ในทั้งสองประเทศ จึงมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ในที้ืงสองประเทศเหมือนกัน เนื่องจากด้านสังคม ความแตกต่างด้านความคิดและวัฒนธรรม ทำให้ความรู้สึกและความสัมพันธ์ต่อสัตว์นั้นแตกต่างกัน วิจัยฉบับนี้ได้วิจัยสำนวนที่เกี่ยวกับสัตว์ของไทยและจีน ความแตกต่างของสำนวนที่เกี่ยวกับสัตว์ระหว่างไทยกับจีน ความหมายที่แตกต่างกันสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมของประเทศตนเอง ส่งผลทำให้นักเรียนไทยที่เรียนภาษาจีนเกิดความเข้าใจผิดในการเรียนสำนวนสุภาษิตที่เกี่ยวกับสัตว์ ในวิจัยฉบับนี้ได้เปรียบเทียบทั้งความหมายที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม และวิจัยฉบับนี้ได้นำสำนวนที่เกี่ยวกับสัตว์มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศด้วย หวังว่าจะทำให้นักศึกษาของทั้งสองประเทศมีความเข้าใจในลักษณะการใช้กฎเกณฑ์ความหมายทางวัฒนธรรมและสำนวนสุภาษิตที่เกี่ยวกับสัตว์ระหว่างไทยและจีนมากขึ้น ซึ่งจะทำให้นักศึกษาเข้าใจสำนวนที่เกี่ยวกับสัตว์ระหว่างไทยกับจีน สามารถนำไปประยุกต์ใช้และแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมได้ China is a close neighbour to Thailand and both cpuntries have enkoyed good bilateral ties. Due to recent hkie in commerce and tourism between both countries, more Thais are taking up Chinese language classes and vice verse. However, cultural, background and lifestyle differences between both countries have influence the way students from both countries to interpret proverbs based on their mother tongue. Mankind and animals are both important components of mother nature, and both helps to maintain the habitat balance on this planet. Based on evolution history, animal existed before mankind even though mankind have always been on the highest level on the evolution chain. From this, we can conclude that humans are directly dependent on animals for their daily needs. For example, animals have provided our lives with vast material resources thanks to mother nature. Due to the difference in Thai and Chinese background , thinking, culture, feelings and mindset towards animals, there is a gap in how Thai and Chinese proverbs are defined and interpreted. This gap reflects the uniqueness of multicultural societies which is the reason why Thai students are easily baited towards using their mother tongue ti interpret animal proverbs. The transcirpt uses the comparison of animals to explain the difference in the culture, background and history to analyse the bias for research. For us researchers, we hope that the studied of these animals will allow us to have a deeper understanding on the cultural impact in our way of life, through our understanding of animal proverbs, and use this knowledge to strengthen the ties between both countries. |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2017 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/702 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
XIE-YANZHE.pdf Restricted Access | 3.15 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.