Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/727
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor艾红娟-
dc.contributor.advisorAi, Hongjuan-
dc.contributor.author陈妙宝-
dc.contributor.authorธัญญรัตน์ แก้วนันทวัฒน์-
dc.date.accessioned2022-09-26T01:45:02Z-
dc.date.available2022-09-26T01:45:02Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/727-
dc.descriptionThesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2015th
dc.description.abstract"สี" ในชีวิตของคนเรานั้นมีการใช้ที่มากมายหลายรูปแบบ สีที่ไม่เหมือนกันนั้น ย่อมให้ความรู้สึกนึกคิดที่แตกต่างกันไป หากชีวิตของคนเราขาดสีสันคงไร้ซึ่งชีวิตชีวาและความสดชื่น ปัจจุบันนี้มีผู้เรียนมากมายที่ทำการวิจัยเกี่ยวกับสี รวมทั้งผู้เขียนเองก็ได้วิจัยเกี่ยวกับความหมายของคำศัพท์เกี่ยวกับสี จำนวน 5 คำ คือ เหลือง เขียว ฟ้า เทา ส้ม ผ่านระบบคลังข้อมูลทางภาษาที่ได้รวบรวมไว้เป็นพื้นฐาน ตลอดจนการเปรียบเทียบความแตกต่างด้านวัฒนธรรม เพราะการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่งของแต่ละวัฒนธรรม ทำให้ผู้คนสนใจในสิ่งที่เหมือนและแตกต่างของวัฒนธรรมเหล่านั้้นมากยิ่งขึ้น อีกทั้งการเปรียบเทียบความแตกต่างด้านวัฒนธรรมนี้ สามารถแสดงให้เห็นถึงการสื่อสารของบุคคลที่มีพื้นหลังทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ทั้งในด้านทฤษฎีของความหมายและคุณค่าทางการใช้ภาษา วิทยานิพนธ์นี้แบ่งเป็น 8 ส่วน ประกอบด้วย บทนำที่กล่าวถึงที่มาของหัวข้อ วิธีการวิจัย ผลการวิจัย ที่มีอยู่ทั้งภายในและภายนอกประเทศ สำหรับบทที่ 2-6 ผู้เขียนได้เลือกชื่อของสี 5 คำ มาเปรียบเทียบวิเคราะห์ และวิจัยความหมายทั่วไปที่ปรากฏอยู่ในพจนานุกรม 《现代汉语词典》 (第六版) และ <<พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน>> พ.ศ. 2554 จากนั้น ค้นคว้าและรวบรวมความหมายใหม่ จากประโยคต่างๆ ที่ปรากฏในคลังข้อมูลภาษาของ CCL มหาวิทยาลัยปักกิ่ง และคลังข้อมูลภาษาไทยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อนำไปวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม การใช้ภาษาของจีนและไทย รวมไปถึงแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะ วิธีการสอนคำศัพท์เรื่องสี ให้มีประสิทธิภาพและครบถ้วนมากยิ่งขึ้น และในส่วนท้ายสุดของวิทยานิพนธ์ คือ การสรุปการวิจัยทุกด้าน ตลอดจนนำเสนอส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์ของงานวิจัยชิ้นนี้th
dc.description.abstractColor, there are many special role in our lives. Different colors give people different feelings and associations. Life without color is no longer exciting. Today, many scholar have studied the interpretation of color words. Based on a corpus of "yellow, green, blue, gray, orange", meaning items distributed in five core color words were studies. In cross-cultural communication, continuous exchange of cultures so that people of different cultures are more interested in character and individuality. Cross-cultural communication refers to communicate that people with different cultural backgrounds between. And both theoretical significance, but also has practical value. This article is divided into eight chapters. Introduction section briefly discuss the significance of the core color words, current research, research methods. From chapter two to chapter seven, I selected a more central yellow, green, blue, gray, orange were studies in five words. This is the core part of the vocabulary, we first refer to "Modern Chinese Dictionary" (Sixth Edition) interpretation of the term of the set ones, in our modern Chinese corpus CCL with Peking University and the International Thai database download corpus, the use of a combination of quantitative and qualitative methods. Their significance analysis of condemnation. During the analysis, for new meanings found in connection with specific language facts, analyzing the meanings in the language and the use of contrasting color words in Chinese and Thai sematic items in the cross-cultural similarities and differences. And put forward their own thinking and recommendations of these color words in teaching methods. Finally, the paper summarizes and explains the deficiencies.th
dc.description.abstract颜色在我们的生活中有许多特殊的作用。不同的颜色,可以给人们不同的感受与联想。生活中如果没有了色彩也就不再精彩。近几年,很多学者都对颜色词释义进行研究。本文在语料库的基础上对“黄、绿、蓝、灰、橘”五个核心颜色词的义项分布进行了研究。在跨文化交际中,由于各种文化之间的不断交流,使人们对不同文化之间的共性和个性更感兴趣。跨文化交际指具有不同文化背景的人之间的交际,既有理论意义,也有实用价值。 本文分为八个章节。绪论部分简要论述了五个核心颜色词的研究意义、研究现状、研究方法。第二章至第七章,笔者选取了较为核心的黄、绿、蓝、灰、橘五个词进行研究。这是核心词汇中的一部分,我们先参照《现代汉语词典》(第六版)和《皇家学术院词典》(2011年)对这些单音名词的释义,在我们与北京大学 CCL 现代汉语语料库和国家泰语资料库下载的语料中,运用 定量和定性结合的方法,对它们的意义进行对号入座的分析。在分析过程中,对于发现的新义项,结合具体语言事实、分析该义项在语言中的使用情况及对比颜色词在汉语和泰语义项中跨文化的异同,并对这些颜色词的教学方法提出自己的思考与建议。最后,对全文进行了总结并且说明了不足之处。-
dc.language.isozhth
dc.publisherHuachiew Chalermprakiet Universityth
dc.subjectภาษาจีน -- การศึกษาและการสอนth
dc.subjectChinese language -- Study and teachingth
dc.subjectChinese language -- Usageth
dc.subjectภาษาจีน -- การใช้ภาษาth
dc.subjectสีth
dc.subjectColourth
dc.subject汉语 -- 学习和教学-
dc.subject汉语 -- 语言使用-
dc.subject颜色-
dc.title跨文化交际视野下的汉泰颜色义场代表词义项分布及其教学策略研究----以"黄、绿、蓝、灰、橘"为例th
dc.title.alternativeการศึกษาความแตกต่างด้านวัฒนธรรมการใช้คำศัพท์และวิธีการสอนเกี่ยวกับสีเหลือง เขียว ฟ้า เทา ส้ม ของจีนและไทยth
dc.title.alternativeA Comparative Study of Teaching Strategies and the Culture of Using Color Vocabulary : Yellow, Green, Blue, Gray, Orange in Chinese and Thai.th
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการสอนภาษาจีนth
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
THUNYARAT-KAEWNUNTAWAT.pdf
  Restricted Access
2.47 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.