Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor黄南津-
dc.contributor.advisorHuang, Nanjin-
dc.contributor.author田野-
dc.contributor.authorTian, Ye-
dc.date.accessioned2022-09-26T06:30:27Z-
dc.date.available2022-09-26T06:30:27Z-
dc.date.issued2013-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/748-
dc.descriptionThesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2013th
dc.description.abstractในชีวิตประจำวันบ่อยครั้ง เราตั้งคำถามว่า เพราะเหตุใด มนุษย์จึงมีความสามารถในการเข้าใจภาษา ในที่นี้หมายความรวมทั้งการเรียนภาษาและปรัชญา ซึ่งนักปรัชญาและนักภาษาศาสตร์หลายท่านได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคำถามนี้ไว้ บ้างก็มีทัศนะที่คล้อยตามกัน บ้างก็ย้อนแย้งกัน นักปรัชญามีชื่อท่านหนึ่ง คือ ลุดวิก วิดเกนสไตน์ ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับภาษาว่ามีสองทฤษฎีรวมเข้าด้วยกัน โดยแต่ละทฤษฎีที่ว่านี้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน แนวคิดล่าสุดของวิดเกนสไตน์ ได้สะท้อนให้เห็นทฤษฎีทางภาษาสองทฤษฎี นั่นคือ ตรรกวิทยาแบบอะตอม (คือการสะท้อนภาพของความเป็นจริงหรือประโยคที่เป็นจริงจะมีความหมายที่แท้จริงได้ย่อมเป็นจริง) และปฏิฐานนิยมเชิงตรรก (การพิสูจน์ความจริงทางตรรก) ทั้งสองสิ่งนั่นก็ "ตรรกของปรัชญา" โดยพิจารณาว่าภาษานั้นมีโครงสร้างของตนเอง ภาษาเปรียบดังภาพวาดของความเป็นจริง ภาษาบรรยายถึงโครงสร้างของความเป็นจริง แต่ศาสตร์ของปรัชญานั้นได้ล้มเลิกทฤษฎีนี้แล้ว และได้สร้างทฤษฎีใหม่ขึ้นมา วิดเกนสไตน์ เชื่อว่าภาษานั้นเป็นเครื่องมือโดยตัวของมันเอง และเพื่อตัวของมันเอง ผู้เรียนภาษาไม่จำเป็นที่จะต้องรู้กฎนี้ก่อนที่จะเรียนภาษา กฎจะถูกสร้างขึ้นโดยผู้ที่สำเร็จ การศึกษาแล้วเมื่อเข้าใช้และเรียนรู้ภาษาเท่านั้น ถ้าเราใช้โครงสร้างของภาษามาวิเคราะห์ภาษาเราจะสามารถหาข้อสรุปได้ไม่ยาก หากแต่ข้อวินิจฉัยเหล่านี้ไม่ได้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงไม่สามารถนำไปสู่การวิเคราะห์ในขั้นตอนสุดท้ายได้ เมื่อเปรียบกับโลกความเป็นจริงจึงเชื่อถือได้ยาก แนวคิดล่าสุดของ วิดเกนสไตน์ ยอมรับทฤษฎีในแง่มุมที่ให้ภาพของความเป็นจริงหรือการบรรยายเหตุการณ์เหล่านั้น ภาษาสร้างขึ้นโดยหลากหลายหน้าที่ หลายกาลวาระ และมีวิธีการสะกดที่แตกต่างทั้งในระดับต่ำและระดับสูง ในกลุ่มใหญ่หรือในกลุ่มย่อย ประดุจดั่งครอบครัวใหญ่ที่มีภาษาที่ใกล้เคียงหรือคล้ายคลึงกัน และเป็นเพราะการใช้ภาษาในชีวิตประจำวันที่ทำให้ภาษามีหน้าที่เบ็ดเสร็จอยู่ในตัวของมันเองth
dc.description.abstractIn our life we maybe often have a question. That is why people are able to understand a language? This question involves both linguistic and philosophy. Many philosophers and linguists have presented their perspective ideas about the question. Some ideas are agreed with each other, while others are against each other. Ludwig Wittgenstein, he was known as the philosopher of the philosophers, he has two complete different opinions on the point of language comprehensibility. Wittgenstein believes that language itself is likes a tool, and its rules only in the use of a language that can be found. People needn't have to know the rules before learning a language. The rules are taken by people gradually when they are using and learning a language. If we use the wat of structural analysis to analyze a language, it is not hard that we will have to a conclusion: the basic proposition or factors and all of the propositions do not belong to the same category. So they should not appear as the ultimate elements of a language. It is just like the real world or virtual world which is impossible occur as a factor independently. In Wittgenstein's late theory, he recognized that it does not construct language if just describes a closed, integral facts or events. A language is formed with different functions, tenses and different spelling ways. It's could be lower or higher and the ranging maybe large or small. They are just like a big which with the similar language games, Because of the usage of a language in the daily life, it makes a language itself has its own functions.th
dc.description.abstract在我们的日常生活中,也许我们经常会遇到一个问题,那就是我们为什么能理解语言?这个问题既涉及到语言学的问题,而同时也涉及到哲学的问题。为此,许多哲学家和语言学家都纷纷提出了自己的观点。在这些观点中有的他们相互默许,有的则相互争论。曾被誉为哲学家中的哲学家的维特根斯坦对此问题同样有着截然相反的两种态度。 维特根斯坦认为,语言本身就像是一种工具,而其规则只有在人们对语言的使用中才能得以体现。人们并不是在已经掌握了规则的情况下才来学会语言的,而规则正是在学习的过程中才不断地被人所掌握。如果我们用结构分析的方法来分析语言,就不难得出一个结论:即基本命题或其真值函项与全部的命题并不属于同一范畴, 同时,它也不应该成为语言中的终极元素而出现,就像无论是现实世界还是虚拟世界那样,都不可能出现独立的事实或事态。在维特根斯坦后期的理论中,他自己也认识到一个描述封闭的,不可分割的事实或事态并不能构成语言。它只是一种由功能不尽相同的,形态多变的,或低级或高级的,范围或大或小的,它们之间仅仅是靠着家族相似性而组成的语言游戏大家族。同时也正是因为我们在日常生活中的使用,才让语言本身具有了这样或那样的功能。-
dc.language.isozhth
dc.publisherHuachiew Chalermprakiet Universityth
dc.subjectภาษา -- ปรัชญาth
dc.subjectLanguage and languages -- Philosophyth
dc.subjectวิตต์เกนสไตน์, ลุควิกth
dc.subjectWittgenstein, Ludwigth
dc.subject语言 -- 哲学-
dc.subject维特根斯坦, 路克维系, 1889-1951-
dc.title维特根斯坦哲学视角下的语言可理解性分析th
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ภาษาที่เข้าใจตามปรัชญาของ Wittensteinth
dc.title.alternativeThe Analysis of Comprehension Language by Wittenstein's Philosophyth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการสอนภาษาจีนth
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf206.07 kBAdobe PDFView/Open
Tableofcontents.pdf262.47 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf339.44 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf528.98 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf357.01 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf355.03 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdf254.48 kBAdobe PDFView/Open
References.pdf557.09 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.