Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/755
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จันทร์สุดา ไชยประเสริฐ | - |
dc.contributor.advisor | Jansuda Chaiprasert | - |
dc.contributor.author | Zhang, Ying | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-27T02:33:42Z | - |
dc.date.available | 2022-09-27T02:33:42Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/755 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2564 | th |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลวิธีการแต่ง และเพื่อวิเคราะห์แนวคิดในนวนิยายชุด เบญจมรณา จำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ บ่วงสไบ สาปสังคีต วังนางโหง สิเน่หารอยคำ และป้อมปางบรรพ์ เสนอผลการวิจัยด้วยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยด้านกลวิธีการแต่ง พบว่า 1) การตั้งชื่อ แยกเป็น 3 ส่วน คือ การตั้งชื่อชุดตามระบบคำภาษาไทยสร้างคำใหม่ การตั้งชื่อเรื่องโดยใช้ชื่อวัตถุสิ่งของโดยประกอบให้ความหมายแฝง และการตั้งชื่อบทตามความเชื่อของคนไทย 2) การสร้างโครงเรื่อง พบมีโครงเรื่องคำสาปแช่งในอดีต โครงเรื่องบุญวาสนาไม่เท่าเทียมกัน โครงเรื่องคำมั่นสัญญา โครงเรื่องการรอคอยที่ไม่มีวันสิ้นสุด และโครงเรื่องความโลภที่ไม่รู้จักบาปกรรม 3) การสร้างตัวละคร พบมีวิธีการสร้างตัวละครประเภทมนุษย์ และตัวละครอมนุษย์ โดยสร้างตัวละครประเภทมนุษย์จากความเชื่อเรื่องฝัน ความเชื่อทางศาสนาพุทธ และความเชื่อทางไสยศาสตร์ และการสร้างตัวละครประเภทอมนุษย์จากความเชื่อผีวิญญาณ 4) การสร้างฉากและบรรยากาศ พบมีการสร้างฉากและบรรยากาศเหนือจริงและทั่วไป โดยมีการสร้างฉากและบรรยากาศเหนือจริงจากความเชื่อ และการสร้างฉากและบรรยากาศทั่วไปจากสถาปัตยกรรมไทย 5) การใช้ภาษา พบมีวิธีการใช้ภาษาที่แสดงลักษณะพิเศษของนวนิยายชุดนี้ โดยมีการใช้ภาษาที่แสดงยุคสมัย การใช้ภาษาที่แสดงภูมิภาค และการใช้ภาษาที่แสดงฐานะ ซึ่งจากการวิเคราะห์กลวิธีการแต่งใน นวนิยายชุดนี้ พบว่า ผู้เขียนนิยมใช้วัฒนธรรมไทยสอดแทรกในกลวิธีการแต่ง นอกจากทำให้นวนิยายชุดนี้สอดคล้องกับนวนิยายประเภทสยองขวัญแล้ว ยังทำให้นวนิยายชุดนี้มีลักษณะพิเศษ ให้ผู้อ่านสามารถสัมผัสถึงเสน่ห์ของวัฒนธรรมไทยและลักษณะความเป็นไทยอีกด้วยด้านแนวคิด พบว่า ผู้เขียนได้นำเสนอแนวคิด 4 ประเด็น ได้แก่ 1) แนวคิดเกี่ยวกับศาสนาพุทธ คือ การให้อภัยและการปล่อยวางทำให้ชีวิตมีความสงบสุข กฎแห่งกรรมยุติธรรมเสมอ และความโลภทำให้เกิดความทุกข์ 2) แนวคิดเกี่ยวกับความรัก คือ ความรักมีอิทธิพลเหนือค่านิยมของสังคม คลั่งรักทำให้จากแสนรักกลายเป็นคู่แค้น และความรักที่ไม่หวังผลตอบแทนทำให้อยู่เย็นเป็นสุข 3) แนวคิดเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม คือความช่วยเหลือสร้างความสัมพันธ์ที่ดี และพัฒนาสังคมให้งดงาม ความกตัญญูทำให้ครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข ความขยันหมั่นเพียรช่วยบรรลุเป้าหมาย และความรับผิดชอบช่วยแก้ปัญหาและทำให้ชีวิตเจริญก้าวหน้า และ 4) แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย คือ การถ่ายทอดและสนับสนุนทำให้ดนตรีท้องถิ่นไทยได้เฟื่องฟูและดำรงอยู่ และการอนุรักษ์และสืบทอดวัตถุโบราณไทยช่วยพัฒนาประเทศชาติ แนวคิดดังกล่าวทำให้ผู้อ่านได้รับแนวทางดำเนินชิวิตอย่างมีคุณค่า | th |
dc.description.abstract | This research aimed to analyze writing techniques and themes in the Benchamorranaa novel series, which included five titles: Boung-sa-bi; Sab-sang-keat; Wang-nang-hong; Si-nae-ha-roy-kum; and Pom-pang-bun. Research findings were reported as a descriptive analysis.Regarding writing techniques, five aspects were found as the following. 1) Title names were sorted as three types: the series name was a new word formed accordingly to Thai words structure; names of titles were formed after objects with connotations; and chapter titles were named accordingly to Thai beliefs. 2) Plots, five types were found including curses from the past; different fate and fortune; the promise and commitment; the endless awaiting; and the sinful greed. 3) Character, two main types were found, humans and demons. Human characters were formed accordingly to beliefs about dream; Buddhism; and superstition, while demons were from beliefs in ghost and spirit. 4) Setting and atmosphere, surrealistic scenes relating to some beliefs; and normal scenes relating to Thai architecture were generally presented. 5) Language, conveying the period or time of the stories and also implying the location and status of characters. Besides the stated writing techniques, it was also noted that Thai culture was frequently interwoven in the series. This presented readers thrilling senses as well as the charm of Thai culture. For the themes, four areas were observed, including 1) Buddhism, major ideas presented were forgiving and letting things go brought about the peaceful life; the fair law of karma; and grief caused by greed. 2) Love, shown as the powerful love over social values; the reckless love turned from blissfulness to enemies; the unselfish love returned by peace. 3) Moral and ethics, including mutual assistance created good relationships and healthy society; gratitude founded a happy and peaceful family; diligence defeated any goals; responsibility solved any problems and brought prosperous lives. And 4) Thai culture, conservation of local Thai music and antiques sustained existence of the local and developed the country, as well. This also guided readers to the sound ways of living. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | วรรณกรรมกับสังคม | th |
dc.subject | Literature and society | th |
dc.subject | นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์ | th |
dc.subject | Thai fiction -- History and criticism | th |
dc.subject | การวิเคราะห์เนื้อหา | th |
dc.subject | Content analysis (Communication) | th |
dc.subject | เบญจมรณา (นวนิยาย) -- ประวัติและวิจารณ์ | th |
dc.title | กลวิธีการแต่งและแนวคิดในนวนิยายชุด เบญจมรณา | th |
dc.title.alternative | Writing Techniques and Themes in the Benchamorranaa Novel Series | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง | th |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ZHANG-YING.pdf Restricted Access | 9.33 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.