Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม-
dc.contributor.advisorจริยาวัตร คมพยัคฆ์-
dc.contributor.advisorKamonthip Khungtumneum-
dc.contributor.advisorJariyawat Kompayak-
dc.contributor.authorพรรณทิพย์ คำภิชัย-
dc.contributor.authorPantip Compichai-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2022-09-27T05:23:51Z-
dc.date.available2022-09-27T05:23:51Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/764-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2564th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลและความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูงที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองปรือ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 110 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ พฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง และการรับรู้ความสามารถของตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ได้ค่า CVI ระหว่าง 0.875-1.000 และนำไปทดสอบได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบัค เท่ากับ .867, .753, .718, .726, .768 และ .700 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติ Spearman Rank Correlation Coefficient Mann-Whitney Test และ Kruskal-Wallis Testผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X ̅=3.35, S.D.=.333) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ได้แก่ สถานภาพสมรส (Kruskal-Wallis Test=9.688, p=.021) การรับรู้ความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง (rs=.303, p=.001) การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (rs=.267, p=.005) การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง (rs=.228, p=.017) และการรับรู้ความสามารถของตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง (rs=.249, p=.009) ตามลำดับth
dc.description.abstractThis research aimed to study were to the relationship between health beliefs and stroke preventive behaviors in diabetes mellitus patients with hypertension. The sample consisted of diabetes mellitus patients with hypertension Who come to receive services in Nongprue of Tambon Health Promoting Hospital, Bang Phli District, Samutprakan, collected 110 people. Data were collected by using questionnaires consisting of stroke prevention behaviors, perceived susceptibility of stroke, perceived severity of Stroke, perceived benefits to stroke prevention behaviors, perceived barriers to stroke preventive behaviors and perceived self-efficacy to stroke preventive behaviors. Pass the validation check content oriented from 3 experts and CVI = .0875-1.000 The Cronbach’s alpha coefficient is equal to 867, .753, .718, .726, .768 and .700 The data is analyzed by mean, standard deviation, Spearman Rank Correlation Coefficient Coefficient, Mann-Whitney Test and Kruskal-Wallis Test and Cramer s’ V Coefficient.The results showed that the sample group had overall stroke preventive behaviors at a moderate level (X ̅=3.35, S.D.=.333). There were significant factors associated with stroke prevention behaviors, marital status (Kruskal-Wallis Test = 9.688, p=.021) perceived severity of stroke (rs=.303, p=.001) perceived susceptibility of stroke (rs=.267, p=.005) perceived benefits to stroke preventive behaviors (rs=.228, p=.017) perceived self-efficacy to stroke preventive behaviors (rs=.249, p=.009)th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพth
dc.subjectHealth promotionth
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองth
dc.subjectSelf-care, Healthth
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวานth
dc.subjectDiabeticsth
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมอง -- การป้องกันth
dc.subjectCerebrovascular disease -- Preventionth
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเบาหวานร่วมกับความดันโลหิตสูงth
dc.title.alternativeThe Relationship between Health Beliefs and Stroke Preventive Behaviors in Diabetes Mellitus Patients with Hypertensionth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน.th
Appears in Collections:Nursing - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PANTIP-COMPICHAI.pdf
  Restricted Access
4.88 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.