Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/791
Title: 两套泰国初级汉语教材的对比分析
Other Titles: การเปรียบเทียบหนังสือเรียนภาษาจีนกลางสองฉบับสำหรับผู้เริ่มต้น
A Comparison between Two Chinese Textbooks for Basic Learner
Authors: 田春來
Tian, Chunlai
李文鑫
ธนัญญา ฤทธิเรือง
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
ภาษาจีน -- ตำราสำหรับชนต่างชาติ
Chinese language -- Textbooks for foreign speakers
汉语 -- 对外教科书
Issue Date: 2016
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: วิทยานิพนธ์เล่มนี้ทำการศึกษาวิจัยหนังสือเรียนภาษาจีนจำนวนสองฉบับที่ใช้ในประเทศไทย โดยทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบหนังสือเรียนภาษาจีนสองฉบับสำหรับผู้เริ่มต้นเรียนการพูดภาษาจีนเร่งรัดขั้นพื้นฐานโดยผู้เขียนชาวไทยที่เขียนเพื่อผู้เรียนชาวไทยโดยเฉพาะ ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อศึกษาหาความแตกต่างของหนังสือเรียนภาษาจีนที่ใช้ในประเทศไทยและประสิทธิภาพของหนังสือเป็นหลัก โดยทำการศึกษาวิจัยการออกแบบการเขียนเนื้อหา เช่น การออกแบบการเรียบเรียงหลักภาษาและภาพประกอบในบทเรียน เพื่อรวบรวมและวิเคราะห์ผลการศึกษาวิจัยที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงการเขียนเรียบเรียงตำราหนังสือต่างๆ เช่น การสอดแทรกการสร้างสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนระดับต้นเข้าใจง่ายขึ้นในการสื่อสารและทำให้สามารถเข้าใจเนื้อหาที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารได้ง่ายขึ้นอีกด้วย นอกจากนี้ ได้ทำการวิเคราะห์การสอดแทรกเนื้อหาแบบฝึกหัดของหนังสือทั้งสองฉบับนี้ อีกทั้งรวบรวมและสรุปจุดเด่นและข้อเสนอแนะของหนังสือเรียนภาษาจีนทั้งสองเล่ม เพื่อเป็นประโยชน์ในการศึกษาวิจัยต่อไป
This thesis were studies, analyzed and compared on two Chinese textbooks which use in Thai instuction. These books are used for basic intensive textbooks for the Chinese beginner. The book author are Thai that professionally and experiences in designing Chinese textbook for Thai student. The thesis researcher was crucially analyzed and compared these books to study the different of textbook use in Thailand and its effectiveness. The thesis analyzed on textbook grammar design and illustration to collect the result then using useful opinions to adjust, textbooks. For example, the textbook should insert sample situation to help basic learniner better their understanding. Moreover, the researcher were analyzed, collect and summarized the adjustment of content in practice part in these books that needs to be additional adjustment with useful recommend.
目前,本文选取了两部泰国本土化汉语教材进行对比,这套教材都是初级短期速成汉语口语教材,泰国人自编,具备本土化教材编写特点,进行系统的对比,重点观察其国别化程度和差异。针对教材内容的设计,如语点言的编排设计、教材中的图片插图进行深入总结和分析,并在此基础上提出有利于书写编排的建议,比如设计一个情景编写利于初学者交流及促进对表达的形式更容易理解。另外,分析两部教材的练习设计是否针对所学对象有效编写分析。总结两部初级汉语教材指出其特点,各欠缺部分,进行描述及提出针对性的建议与意见。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2016
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/791
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
THANANYA-RITTHIRUEANG.pdf9.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.